บริษัท เลกะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด เราคือผู้นำด้านเครื่องมือวัดทุกชนิด

Data Logger สำหรับ 4-20 mA

สัญญาณ 4-20mA คืออะไร สัญญาณ 4-20mA (4-20mA analog signal) คือสัญญาณไฟฟ้าแบบอนาล็อกชนิดหนึ่งที่ถูกใช้เป็นมาตรฐานสำหรับ รับ-ส่งสัญญาณของเครื่องมือวัดในอุตสาหกรรมจำพวก Sensor ต่างๆ โดยหลักการทำงานจะมีดังนี้ หากวัดค่าที่ 0 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 4 mA หากวัดค่าที่ 25 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 8 mA หากวัดค่าที่ 50 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 12 mA หากวัดค่าที่ 75 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 16 mA และหากวัดค่าที่ 100 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 20 mA ตามตารางดังต่อไปนี้ โดยปกติแล้วอุปกรณ์ Sensor แบบ Analog ชนิดต่างๆจะมีการจ่ายสัญญาณมาตรฐานมา 2 แบบคือ สัญญาณกระแสไฟฟ้ามาตรฐาน หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งก็คือ 4-20mA…

HIOKI & IMV TU SEMINAR

บริษัท เลกะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด ได้รับเกียรติให้จัดสัมมนาฝึกอบรมสินค้าและผลิตภัณฑ์ของ FLIR, IMV และ HIOKI ซึ่งได้แก่ กล้องถ่ายภาพความร้อน, เครื่องวัดความสั่นสะเทือนและเครื่องวัดค่าไฟฟ้าต่างๆ ให้แก่คณะนิสิตและอาจารย์จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

5 วิธีดูแลรักษารถยนต์

หน้าฝนแบบนี้อย่าปล่อยให้รถขาดการดูแล 1 . ทุกเช้าควรเดิน ตรวจรอบคันรถยนต์ก่อนขึ้นเสมอ สิ่งแรกที่เห็นเลย คือ ลมยางรถยนต์ สามารถมองด้วยสายตาได้เลย ลมยางที่ไม่เท่ากันจะส่งผลต่อการทรงตัวของรถ ตรวจดูที่ปัดน้ำฝนว่ายางปัดสภาพพร้อมการใช้งานไหม 2 . ก้มดูใต้ท้องรถ รอยหยด รอยรั่ว ต่างๆ หากเป็นน้ำมันเครื่อง น้ำมันเกียร์ น้ำมันเฟืองท้าย

แนะนำและสาธิตการใช้งานเครื่องวัดความสั่นสะเทือน Vibration Meter CardVibro Air 2 รุ่น VM-2012 ให้กับโรงงานผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่รถยนต์

LEGATOOL เราได้ออกไปสาธิตและแนะนำการใช้งานรวมไปถึงทดลองการใช้งานจริงของเครื่องวัดความสั่น

ความสําคัญของการศึกษาการสั่นสะเทือน

ความสําคัญของการศึกษาการสั่นสะเทือน การสั่นสะเทือน (Vibration) หมายถึงการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาของวัตถุเมื่อเทียบกับจุดอ้างอิงที่ อยู่นิ่ง โดยการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาของวัตถุอาจจะเป็นการเคลื่อนที่โดยอิสระ หรือมีแรงบังคับตลอดเวลา ให้เคลื่อนที่ก็ได้ การสั่นสะเทือนสามารถพบได้ทั่วไปในชีวิตประจําวัน และในงานทางวิศวกรรมมากมาย ตัวอย่างการสั่นสะเทือนที่พบได้บ่อย เช่น การสั่นสะเทือนในรถยนต์

การทดสอบการสั่น

การทดสอบการสั่น การเคลื่อนที่ไปมาของวตัถุรอบจุดสมดุลในช่วงหนึ่ง ไม่ว่าการเคลื่อนที่น้นั จะเกิดขึ้นใน แบบซ้ำ ตัวเองหรือไม่ก็ตาม เราเรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า การสั่น (Vibration) หรือการแกว่ง (Oscillation) เช่น การแกว่งไป–มาของชิงช้า หรือลูกตุ้มนาฬิกา การเคลื่อนที่ของลูกสูบใน เครื่องยนต์เป็นต้น การสั่นของวตัถุต่างๆ ที่เกิดขึ้น มีทั้งที่ก่อให้เกิดประโยชน์และที่ทำ ให้เกิดโทษ ตัวอย่าง การเทสความสั่นสะเทือนของตัวรถจักรยานยนต์

การสั่นสะเทือนคืออะไร

การสั่นสะเทือนคือ การเคลื่อนที่ของมวลทุกทิศทุกทางในตำเเหน่งอยู่กับที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงสร้างเครื่องจักร ชิ้นส่วนอุปกรณ์  ที่ติดตั้งทำงานอยู่ในโรงงานทั่วๆไป เช่น การหมุนของเพลาในบูช หรือแบริ่งกาบ จะหมุนที่จุดศูนย์กลางของบูช,แบริ่ง  ถ้าเเบริ่งสึกหรอจะทำให้มีระยะห่างมาก การเคลื่อนที่ของเพลาในทุกทิศทางก็มากเช่นกัน ทำให้เกิดการสั่นสะเทือน หรือ การเคลื่อนที่กลับของแบริ่งแท่นรองรับ โดยการสั่นสะเทือนสามารถ

รีวิวเครื่องวัดความสั่นสะเทือน รุ่น VB-8206SD ยี่ห้อ Lutron

เครื่องวัดความสั่นสะเทือน รุ่น VB-8206SD ยี่ห้อ Lutron  คุณสมบัติเด่นๆของเครื่องวัดความสั่นสะเทือน รุ่น VB-8206SD  – เซ็นเซอร์แบบแม่เหล็ก Magnatic base – ครอบคลุมช่วงความถี่ 10 Hz ถึง 1 kHz มาตรฐาน ISO2954 – ฟังก์ชั่นการวัด Acceleration, Velocity, Displacement – บันทึกข้อมูลด้วย SD Card – รีพอร์ตในรูปแบบของไฟล์ Excel

การวิเคราะห์ความสั่นสะเทือน Vibration ด้วยเครื่องวัดความสั่นสะเทือน

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ Step 1. เลือกวิธีการวัด Determine the method ◼ FFT ย่อมาจาก Fast Fourier Transform ◼ รุ่นที่มี FFT Analysis Function ◼ ทำไมเราถึงต้องใช้เครื่องวัดความสั่นสะเทือน ◼ โดยจะลำดับความสำคัญของเครื่องจักรที่จะนำวิธีการตรวจสอบนี้ไปปฏิบัติ มีดังนี้ ◼ เทคนิคการใช้งานเครื่องวัดความสั่นสะเทือน ◼ ในการวัดความสั่นสะเทือนนั้นโดยปกติแล้วจะวัดใน 3 จุดคือ ◼ Bearing Valuation basis การวิเคราะห์ความสั่นสะเทือนเครื่องจักรด้วยเครื่องวัดความสั่นสะเทือน (อ้างอิงตาม ISO 2372, CDI 2056 and ISO 2954)