บริษัท เลกะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด เราคือผู้นำด้านเครื่องมือวัดทุกชนิด

มาตรฐาน ISO/IEC17025 คืออะไร และทำไมเครื่องมือวัดในโรงงานอุตสาหกรรมต้องมีมาตรฐานนี้

โดยทั่วไปการใช้อุปกรณ์เครื่องมือวัดภายในโรงงานอุตสาหกรรม “บางโรงงานนั้นมีข้อกำหนดว่าอุปกรณ์จำเป็นต้องมีมาตรฐาน ISO/IEC17025” คืออุปกรณ์เครื่องมือวัดจะต้องได้รับการทดสอบหรือสอบเทียบค่าความถูกต้อง ค่าความแม่นยำ เพื่อให้มั่นใจว่างานที่เราได้ตรวจสอบนั้นมีความถูกต้อง และตรงตามเครื่องมือที่เรานำไปใช้ทำงาน เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) 17025 หรือ ISO/IEC17025 คืออะไร ◼ ทำไมเครื่องมือวัดจึงต้องมี ISO/IEC17025 ◼ ตัวอย่างเอกสารที่ทางห้องปฏิบัติการออกให้กับเครื่องมือวัด ◼ มีความสนใจซื้อเครื่องมือวัด พร้อมสอบเทียบ ต้องทำอย่างไร

การสอบเทียบ การทวนสอบ และการปรับค่า

การวัดค่าพารามิเตอร์ทางกายภาพ เช่น ความหนาผิวเคลือบ โปรไฟล์พื้นผิว และจุดน้ำค้าง เป็นงานทั่วไป สำหรับผู้ตรวจสอบและผู้ปฏิบัติงาน อย่างไรก็ตาม ความแม่นยำของการวัดค่าเหล่านี้ จะมีค่าเท่ากับเครื่องมือที่ทำการวัด แม้แต่เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์คุณภาพสูงก็สามารถให้ผลการวัดที่ไม่ถูกต้องได้ หากไม่ปฏิบัติตามสามขั้นตอนหลัก: การสอบเทียบ (Calibration) การทวนสอบ (Verification) และการปรับค่า (Adjustment)

การคาลิเบรท (Calibration): คำถามที่พบ/มักจะถูกถามกันบ่อยๆ

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ แล้วอะไรคือ 5 คำถามที่พบ หรือ มักจะถูกถามกันบ่อยๆ เกี่ยวกับการคาลิเบรท? ◼ Q: เราจะเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการอ้างอิง (Reference Equipment) สำหรับการคาลิเบรทได้อย่างไร (HOW DO YOU SELECT THE REFERENCE AND CALIBRATION EQUIOMENT?) ◼ Q: เครื่องมือวัดทุกตัวนั้น จำเป็นหรือไม่ที่จะต้องนำไปคาลิเบรท?  ◼ สรุปเกี่ยวกับการคาลิเบรท การ “คาลิเบรท” คืออะไร หากพูดถึงคำว่า “คาลิเบรท” หรือ “สอบเทียบ” คำสองคำนี้มักจะใช้กันในวงการอุตสาหกรรม, การผลิต, การวัดด้วยเครื่องมือวัดต่างๆ หรือแม้แต่ในอุปกรณ์

วิธีการใช้เครื่อง “Sensorex Model C110” เพื่อสอบเทียบ/ตรวจสอบ เครื่องวัดพีเอช/โออาร์พี

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ Sensorex C110 ◼ การใช้ Sensorex C110 สำหรับการตรวจสอบค่าความคลาดเคลื่อนของเครื่อง pH/ORP ◼ ขั้นตอนที่ 1. การเตรียมเครื่อง Sensorex C110 และ เชื่อมต่อกับเครื่องวัด พีเอช หรือ โออาร์พี ◼ ขั้นตอนที่ 2. การเช็คเครื่องวัดพีเอช และ โออาร์พี ด้วยเครื่อง Sensorex C110 ◼ ขั้นตอนที่ 3. การปรับค่า เครื่องพีเอช หรือ โออาร์พี ด้วยเครื่อง Sensorex C110 ◼ บทสรุป บทความโดย ชัชวาล กิมเห, Product Specialist, LEGA Corporation   Sensorex C110: pH/mV Checker/Simulator หรือ เครื่องจำลอง/ตรวจสอบค่า พีเอช/โออาร์พี(มิลลิโวลท์) คือ เครื่องที่สามารถใช้ในการสอบเทียบ…

10 เรื่องสำคัญที่ควรรู้ เพื่อทำให้เรามั่นใจว่า การอ่านค่าจากเครื่อง DFT มีความแม่นยำ

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ 1. เราสามารถสอบเทียบเองได้มั้ย? ◼ 2. เป็นสิ่งที่สำคัญมากที่ต้องตรวจสอบเครื่องมือวัด ◼ 3. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการวัด ◼ 4. การวัดบริเวณขอบชิ้นงาน ◼ 5. การปรับค่าสำหรับการวัดพื้นผิวเบื้องต้น ◼ 6. การเก็บสะสมค่าความผิดพลาด (Error) ◼ 7. การตรวจสอบหัววัด (Probe) ◼ 8. ลักษณะการจับหัววัด ◼ 9. การประเมินสภาพแวดล้อมการทำงาน ◼ 10. แค่ครั้งเดียว…คงไม่เพียงพอ ◼ บทสรุป ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โดย David Beamish, DeFelsko Corporation แปลและเรียบเรียง โดย ชัชวาล กิมเห, Product Specialist, LEGA Corporation. ถ้าเราจะพูดถึงเครื่องวัดความหนาฟิล์มแห้ง แบบพกพา (Hand held dryfilm thickness) นั้น บอกได้เลยว่าเป็นนับหนึ่งในเครื่องมือวัดที่ผู้ใช้งานและผู้ตรวจสอบใช้กันโดยทั่วไป

ความแตกต่างระหว่างเครื่อง HI-520กับHI-520-2 วัดชิ้นงานเดียวกันแต่ค่าไม่เท่ากัน

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ความแตกต่างระหว่างเครื่อง HI-520กับHI-520-2 วัดชิ้นงานเดียวกันแต่ค่าไม่เท่ากัน ◼ หลักการทำงาน ◼ คู่มือ การปรับค่า HI520-2 ◼ เมื่อเราทำการกำหนดค่าเป็นที่เรียบร้อยแล้วต่อไปเป็นการเรียกใช้งาน Function ที่เราได้สร้างขึ้นได้ดังนี้ ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ความแตกต่างระหว่างเครื่อง HI-520กับHI-520-2 วัดชิ้นงานเดียวกันแต่ค่าไม่เท่ากัน (casestudy บ.นิปปอนเพนท์) ซึ่งในปัจจุบันเครื่องวัดความชื้นคอนกรีตรุ่นHI-520 ได้ยกเลิกการผลิตไปแล้วซึ่งได้มีรุ่นใหม่มาแทนเปนรุ่นHI520-2ปัญหาที่พบระหว่าง2เครื่องคือความเข้าใจผิดในส่วนของการวัดคอนกรีต

ฟังก์ชันการคาลิเบรทเครื่องมือวัดค่าพีเอช&โออาร์พี

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ การคาลิเบรท ( Calibrate ) ◼ การคาลิเบรทเครื่องมือสามารถเเบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ ◼ เครื่องมือวัดค่าพีเอชเเละเครื่องมือวัดค่าโออาร์พี ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม การคาลิเบรท ( Calibrate ) คือ การปรับเครื่องมือให้ตรงกับค่าอ้างอิง ทำให้มั่นใจได้ว่าเครื่องมือที่ใช้มีความเเม่นยำ เชื่อถือได้  ซึ่งเครื่องมือบางชนิด สามารถคาลิเบรทเเละปรับค่าได้ด้วยตังเอง  เเต่เครื่องมือบางชนิดจะต้องนำเครื่องไปทำการคาลิเบรทที่ห้องเเลปพร้อมกับออกใบรับรองตามมาตรฐาน ISO17025 เครื่องมือวัดพีเอช (pH Meter) เเละเครื่องมือวัดโออาร์พี (ORP Meter)เป็นเครื่องมือวัดชนิดหนึ่ง

การสอบเทียบเครื่องมือวัด Calibration

การสอบเทียบเครื่องมือวัด (Calibration) คือ การเปรียบเทียบค่าที่ได้จากเครื่องมือกับค่ามาตรฐาน เพื่อให้แน่ใจว่าเครื่องมือวัดที่จะนำไปใช้งานหรือใช้งานอยู่แล้วมีค่าที่แม่นยำและเชื่อถือได้ โดยการสอบเทียบจะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าที่วัดได้และค่าของเครื่องมาตรฐานจากห้องแล็ป ซึ่งในประเทศไทยมีการสอบเทียบทั้งแบบที่ได้การรับรองมาตรฐานสากล ISO/IEC 17025  และแบบที่ยังไม่ได้รับรองมาตรฐานสากลนี้