รู้หรือไม่ Class ของเกจวัดเกลียว (Thread Gauge) มีความหมายอย่างไร

เกจวัดเกลียว Thread gauges สำหรับตรวจสอบระยะพิทช์ของเกลียว ทำให้มั่นใจได้ว่าชิ้นงานอยู่ในมาตรฐานการควบคุม โดยแบ่งเป็นมาตรฐาน JIS class และ ISO class ซึ้ง ISO class เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับ และถูกนำมาใช้งานอย่างแพร่หลายกันทั่วโลก ส่วน JIS class เป็นมาตรฐานที่ใช้กันในแถบเอเชีย
JPG เกจวัดเกลียว (Thread Gauge) รองรับ Standard ทั้ง ISO และ JIS
☀ สามารถซื้อ JPG เกจวัดเกลียว (THREAD GAUGE) ใช้สำหรับวัดเกลียวเมตริกได้แล้วที่นี่ คลิ๊ก!!☀
โดยเกจวัดเกลียว JPG สามารถแบ่งมาตรฐาน Class Thread Gauge ไว้ดังนี้
ISO Standard
● Thread Ring Gauge (GO/NOGO) GR = GO / NR = NOGO
● Thread Plug Gauge (GO/NOGO)
Thread Ring Gauge (GO/NOGO) |
Thread Plug Gauge (GO/NOGO) |
Picture Thread Gauge |
8g = Class3
6g = Class2 (Class Standard)
4h = Class1 |
7H = Class3
6H = Class2 (Class Standard)
4H = Class1 |
 |
JIS Standards
● GP=(GO thread plug gauge)
● GR=(GO thread ring gauge)
● WR=(NOT GO thread ring gauge for working)
● IR=(NOT GO thread ring gauge for inspection)
Thread Ring Gauge(GO/NOGO) |
Thread Plug Gauge (GO/NOGO) |
Picture Thread Gauge |
III = Class 3
II = Class 2 (Class Standard)
I = Class 1 |
III = Class 3
II = Class 2 (Class Standard)
I = Class 1 |
 |

ตารางเทียบ Class ของเกจวัดเกลียว (Thread Gauge)
JIS |
ISO |
ช่วง Class มาตรฐาน ISO |
การใช้งาน |
I |
4H |
4H |
5H |
4h |
6h |
|
แน่นไม่มีระยะเผื่อ |
II |
6H |
|
6H |
6g |
|
|
แน่นพอดี |
III |
7H |
|
|
|
7H |
8g |
แน่นมีระยะเผื่อ |
– |
class below |
|
|
|
|
|
หลวมเหมาะสำหรับการปรับสภาพ หรือ การเคลือบผิว |
*Class: 4H, 5H, 6H, 7H สำหรับเกจวัดเกลียว และ 4h,6h, 6g, 8g สำหรับ Ring gauge |
ดังนั้น class ของเกจวัดจึงสามารถระบุมาตรฐานในการตรวจเช็คเกลียว ยิ่ง class สูงยิ่งมีความแม่นยำสูง แต่ไม่ใช่ว่า class สูงจะเหมาะกับทุกการใช้งานเสมอไป เนื่องจากงานประเภทเคลือบสีก็ไม่จำเป็นต้องมีขนาดของเกลียวที่แน่นพอดี เพราะหากนำไปเคลือบสี หรือ พ่นสี ขนาดของเกลียวหลังผ่านกระบวนการเคลือบแล้วจะมีขนาดที่ใหญ่ขึ้น
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม:
● โทร. 02-746-9933
● LINE: @LEGA
Related articles
การใช้งานเบื้องต้นของเกจวัดขนาด ยี่ห้อ FUJI TOOL
RADIUS GAUGES (เกจวัดรัศมี)
ใช้สำหรับ วัดส่วนโค้งของชิ้นงาน มี 2 แบบ คือ วัดโค้งนอก และ วัดโค้งใน
SCREW PITCH GAUGES ( เกจวัดเกลียว )
ใช้สำหรับ วัดเกลียวของชื้นงาน โดยเสียบเข้าไปในร่องฟันเกลียว
ACME SCREW PITCH GAUGES ( เกจวัดเกลียวเอ็คมี่ )
ใช้สำหรับ วัดเกลียวของชื้นงาน […] Posted in เครื่องวัดองศา, เกจวัดความหนา, เกจวัดความสูง, เกจวัดความลึก
สีปลั๊กของเทอร์โมคัปเปิ้ลหมายถึงอะไร | Color plug Thermocouple
โพรบวัดอุณหภูมิที่ใช้งานร่วมกับเครื่องวัดอุณหภูมิ หรือเราอาจเรียกอีกชื่อว่า เทอร์โมคัปเปิ้ล (Thermocouple) แบ่งตาม Type ไว้ดังนี้ K, J, E, R, S, B, T, N Thermistor, Pt100 เป็นต้น แต่รู้หรือไม่ว่า? สีของปลั๊กนั้นมีความหมายอะไรซ่อนไว้
● […] Posted in เครื่องวัดอุณหภูมิ, News and Event
สัญญาณ 4-20mA
สัญญาณ 4-20mA
สัญญาณ 4-20mA (อังกฤษ: 4-20mA Signal) คือสัญญาณกระแสไฟที่ถูกใช้เป็นมาตรฐานสำหรับส่งสัญญาณของเครื่องมือวัดในอุตสาหกรรมซึ่งเป็นที่นิยมและแพร่หลายในปัจจุบัน โดยสัญญาณ 4-20mA ได้ถือกำเนิดขึ้นในช่วงยุคปี ค.ศ. 1950 (พ.ศ. 2493) […] Posted in อุปกรณ์ในการวัด
Data Logger สำหรับ 4-20 mA
สัญญาณ 4-20mA คืออะไร
สัญญาณ 4-20mA (4-20mA analog signal) คือสัญญาณไฟฟ้าแบบอนาล็อกชนิดหนึ่งที่ถูกใช้เป็นมาตรฐานสำหรับ รับ-ส่งสัญญาณของเครื่องมือวัดในอุตสาหกรรมจำพวก Sensor ต่างๆ โดยหลักการทำงานจะมีดังนี้
หากวัดค่าที่ 0 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 4 mA
หากวัดค่าที่ 25 % […] Posted in อุปกรณ์ในการวัด, เครื่องวัดความเร็วรอบ, เครื่องวัดความสั่นสะเทือน, เครื่องวัดความแรงแม่เหล็ก, เครื่องวัดไฟ, เครื่องวัดความเร็วลม, News and Event, อุตสาหกรรมอาหาร
การวิเคราะห์ความสั่นสะเทือน Vibration ด้วยเครื่องวัดความสั่นสะเทือน
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก!
◼ Step 1. เลือกวิธีการวัด Determine the method
◼ FFT ย่อมาจาก Fast Fourier Transform
◼ รุ่นที่มี FFT Analysis Function
◼ ทำไมเราถึงต้องใช้เครื่องวัดความสั่นสะเทือน
◼ โดยจะลำดับความสำคัญของเครื่องจักรที่จะนำวิธีการตรวจสอบนี้ไปปฏิบัติ มีดังนี้
◼ […] Posted in เครื่องวัดความสั่นสะเทือน
คู่มือการใช้งาน เครื่องวัดความหนืด VT-06
อุปกรณ์ที่มากับเครื่อง VT-06
ส่วนประกอบของเครื่อง และปุ่มต่างๆของเครื่อง
การเตรียมใช้งาน และ การวัดค่า VT-06
▇ ใส่แบตเตอรี่ขนาด AA ลงไปในเครื่อง
▇ ติดดั้งตัวหมุน Rotor โดยทำการหมุนทวนเข็มเพื่อติดตั้ง การบีบวงแหวนยางที่จุดต่อแก หมุน จะช่วยให้ติดง่ายขึ้น
▇ […] Posted in เครื่องวัดความหนืด, News and Event
Related Product(s)