เครื่องวัดสนามแม่เหล็ก(Electromagnetic field Tester) สนามแม่เหล็ก นั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น การสปิน(การหมุนรอบตัวเอง) ของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดจากการ สปิน เป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ
Category: เครื่องวัดไฟ
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ชื่อเรียกของส่วนต่างๆ บนดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดแรงดัน AC (AC Current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดแรงดัน DC (DC Current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นเช็คความต่อเนื่อง (Checking Continuity) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นการเช็คไดโอด ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นการวัดความต้านทาน (Resistance measurement) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดอุณหภูมิ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดค่าความจุไฟฟ้า (Measuring capacitance) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส DC (DC current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส DC (4-20 mA DC current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส AC โดยใช้แคลมป์ (Measuring AC current with a clamp-style sensor) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นเสริมอื่นๆ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์:…
แคลมป์มิเตอร์ คือ อะไร??? แคลมป์มิเตอร์ จัดเป็นเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าประเภทหนึ่ง ที่หลักๆใช้สำหรับวัดค่ากระแสที่เกิดขึ้นในวงจร หรือ ในระบบไฟฟ้า โดยคิดค้นออกมาเพื่อให้สามารถวัดค่ากระแสได้อย่างแม่นยำ และ มีประสิทธิภาพ โดยที่ไม่จำเป็นต้องสัมผัสกับสายไฟโดยตรง ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาในการหยุดการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือ หยุดการทำงานของระบบ เพื่อใช้แคลมป์มิเตอร์แต่อย่างใด
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ลักษณะเด่นของฟังก์ชั่น QUICK SET ◼ ข้อดีของ เครื่องวิเคราะห์ไฟฟ้ายี่ห้อ HIOKI รุ่น PW3360 ◼ นอกจากจะดูข้อมูลในรูปแบบ Excel เเล้ว ยังสามารถนำผลที่ได้มาใช้กับซอฟแวร์ SF1001 ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Pw3360 ยี่ห้อ HIOKI เป็นเครื่องมือที่สามารถวัดเเละวิเคราะห์การใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน หรือการใช้ไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม วัดเพื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์หาสาเหตุเเละเเก้ไขการใช้พลังงานไฟฟ้า เพื่อลดการใช้ไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ @เครื่องวิเคราะห์ไฟฟ้ายี่ห้อ HIOKI รุ่น PW3360@ HIOKI ได้คิดค้นฟังก์ชั่นใหม่ที่ชื่อว่า QUICK SET ซึ่งเป็นตัวช่วยในการตั้งค่าเพื่อใช้งานเครื่องวัดได้อย่างถูกต้องเเละปลอดภัย
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ การใช้งานอนาล็อกมัลติมิเตอร์(Analog Multimeter) เบื้องต้น ◼ มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) ◼ การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง ◼ การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ ◼ การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง การใช้งานอนาล็อกมัลติมิเตอร์(Analog Multimeter) เบื้องต้น มัลติมิเตอร์(Multimeter) เกิดจากคำ 2 คำผสมกัน นั่นคือ Multi ซึ่งแปลว่า หลากหลาย มากมาย ส่วน Meter หมายถึง เครื่องวัด เมื่อนำสองคำมารวมกันคือ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ซึ่งสามารถวัดได้หลายค่า เช่น ค่าแรงดัน(Voltage) ค่ากระแส (Current) ค่าความต้านทาน(Resistance) บางรุ่นสามารถวัด frequency,ค่า Diod หรือค่าอื่นๆภายในเครื่องเดียวได้ด้วย
Heat Flow คือ การไหลของความร้อน หรือ การถ่ายเทความร้อน ซึ่งการถ่ายเทความร้อนจะเดินทางจากวัสดุหนึ่งไปยังอีกวัสดุหนึ่ง โดยถ่ายเทจากอุณหภูมิสูงไปหาอุณหภูมิต่ำเสมอ เช่น การถ่ายเทความร้อนจากผนังบ้านเรือน และ กระบวนการทำงานของชิปภายในคอมพิวเตอร์ หรือ กระบวนการการเก็บรักษาความร้อนของอุปกรณ์ต่างๆ บริษัท เลกะคอร์ปอเรชั่น จำกัด ยินดีนำเสนอนวัตกรรมใหม่ของ HIOKI
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ มัลติมิเตอร์ คืออะไร? ◼ เหตุการณ์แรงดันไฟฟ้าเกิน (overload) ที่เกิดจากแรงดันกระตุ้น (Impulse Voltage) ◼ Measurement Categories ◼ แรงดันที่เข้าไปในวงจรการวัดกระแสของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ แรงดันที่เข้าไปในวงจรการวัดความต้านทานของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการสัมผัสกันของเข็มวัด (Test lead) ◼ บทสรุป มัลติมิเตอร์ คืออะไร? บทความโดย: Hioki แปลและเรียบเรียงโดย: ชัชวาล กิมเห, Product Specialist, LEGA Corporation มัลติมิเตอร์ (Multimeter) จัดเป็นหนึ่งในเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่สำคัญและเป็นเครื่องมือวัดพื้นฐานของวิศวกร, ช่าง รวมถึงบุคคลทั่วไปที่ต้องการวัดค่าทางไฟฟ้าพื้นฐานต่างๆ เช่น กระแส, แรงดัน, ตัวต้านทาน เป็นต้น โดยมัลติมิเตอร์ แบ่งเป็นประเภทหลัก ได้ 2 ประเภท ได้แก่
การวัด True RMS (Root Mean Square: ค่าเฉลี่ยกำลังสอง) เมื่อความผิดเพี้ยนของสัญญาณไม่มีผลกระทบต่อกระแสไฟที่โหลด แคล้มป์มิเตอร์ทั้งแบบค่าเฉลี่ย (Average) และแบบค่าจริง (True RMS) จะวัดค่าได้ใกล้เคียงกันมาก คือ ประมาณ 10A โดยมีรูปคลื่นคงตัวดังตัวอย่างข้างล่าง อย่างไรก็ตาม
SIMCO ST-4 เครื่องวัดความต้านทานพิ้นผิว เครื่องมือวัดความต้านทานพื้นผิว เป็น เครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบวัสดุ เพื่อจะทดสอบว่า วัสดุนั้น เป็นวัสดุ ที่ป้องกันไฟฟ้าสถิตย์หรือไม่ โดยค่าที่ทำการวัดจะแบ่งเป็นสามช่วง คือ 1.ช่วงการวัดที่เป็นตัวนำ ช่วง conductive หรือตัวนำไฟฟ้า ตั้งแต่ ศูนย์ โอมห์ ถึง น้อยกว่า 10 ยกกำลัง 5
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ไขควงวัดไฟ ◼ LEGA Corporation ยินดีนำเสนอ ◼ ตัวอย่างการตรวจหาเเรงดันไฟฟ้า ◼ การเลือกใช้ Voltage Detector จะขึ้นอยู่กับ Caregory (CAT) เเละช่วงเเรงดันไฟฟ้าที่ลูกค้าต้องการตรวจเช็ค ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ไขควงวัดไฟ เป็นเครื่องตรวจเช็คเเรงดันไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไปในหมู่ช่าง เเละหลายๆคนมักจะมีติดบ้านไว้ ซึ่งไขควงวัดไฟ มีการใช้งานที่ง่ายเเละสะดวก เหมาะกับการตรวจเช็คเเรงดันไฟฟ้าเบื้องต้นว่าปลั๊กไฟบล็อคนั้นๆ มีเเรงดันไฟฟ้าหรือไม่ เเต่ไขควงวัดไฟ จะต้องวัดให้สัมผัสกับเนื้อโลหะภายในสายไฟ หรือ สัมผัสเเรงดันไฟฟ้า ซึ่งค่อนข้างจะอันตราย HIOKI จึงออกเเบบ Voltage Detector เพื่อใช้ตรวจหากระเเสไฟฟ้า