บริษัท เลกะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด เราคือผู้นำด้านเครื่องมือวัดทุกชนิด

วิธีเลือกเครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรด ที่เหมาะสมต้องเลือกแบบใด? ยี่ห้อไหนดี?

เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรด สามารถเลือกได้ตามปัจจัยดังต่อไปนี้ 1. ช่วงอุณหภูมิการวัด (Measure Range) แน่นอนว่า เราควรจะต้องทราบเบื้องต้นอยู่แล้วว่า อุณหภูมิของวัตถุที่เราต้องการวัดประมาณเท่าไหร่

การใช้งานและอ่านค่ามัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeter)

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ การใช้งานอนาล็อกมัลติมิเตอร์(Analog Multimeter) เบื้องต้น ◼ มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) ◼ การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง ◼ การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ ◼ การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง   การใช้งานอนาล็อกมัลติมิเตอร์(Analog Multimeter) เบื้องต้น  มัลติมิเตอร์(Multimeter) เกิดจากคำ 2 คำผสมกัน นั่นคือ Multi ซึ่งแปลว่า หลากหลาย มากมาย ส่วน Meter หมายถึง เครื่องวัด เมื่อนำสองคำมารวมกันคือ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ซึ่งสามารถวัดได้หลายค่า เช่น ค่าแรงดัน(Voltage) ค่ากระแส (Current) ค่าความต้านทาน(Resistance) บางรุ่นสามารถวัด frequency,ค่า Diod หรือค่าอื่นๆภายในเครื่องเดียวได้ด้วย

เครื่องวัดการถ่ายเทความร้อน ( Heat Flow ) คืออะไร

Heat Flow คือ  การไหลของความร้อน หรือ การถ่ายเทความร้อน   ซึ่งการถ่ายเทความร้อนจะเดินทางจากวัสดุหนึ่งไปยังอีกวัสดุหนึ่ง โดยถ่ายเทจากอุณหภูมิสูงไปหาอุณหภูมิต่ำเสมอ เช่น การถ่ายเทความร้อนจากผนังบ้านเรือน และ กระบวนการทำงานของชิปภายในคอมพิวเตอร์ หรือ กระบวนการการเก็บรักษาความร้อนของอุปกรณ์ต่างๆ  บริษัท เลกะคอร์ปอเรชั่น จำกัด ยินดีนำเสนอนวัตกรรมใหม่ของ HIOKI

มาทำความเข้าใจ “ดิจิตอลมัลติมิเตอร์” กันเถอะ!! PART I

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ มัลติมิเตอร์ คืออะไร? ◼ เหตุการณ์แรงดันไฟฟ้าเกิน (overload) ที่เกิดจากแรงดันกระตุ้น (Impulse Voltage) ◼ Measurement Categories ◼ แรงดันที่เข้าไปในวงจรการวัดกระแสของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ แรงดันที่เข้าไปในวงจรการวัดความต้านทานของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการสัมผัสกันของเข็มวัด (Test lead) ◼ บทสรุป มัลติมิเตอร์ คืออะไร? บทความโดย: Hioki แปลและเรียบเรียงโดย: ชัชวาล กิมเห, Product Specialist, LEGA Corporation มัลติมิเตอร์ (Multimeter) จัดเป็นหนึ่งในเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่สำคัญและเป็นเครื่องมือวัดพื้นฐานของวิศวกร, ช่าง รวมถึงบุคคลทั่วไปที่ต้องการวัดค่าทางไฟฟ้าพื้นฐานต่างๆ เช่น กระแส, แรงดัน, ตัวต้านทาน เป็นต้น โดยมัลติมิเตอร์ แบ่งเป็นประเภทหลัก ได้ 2 ประเภท ได้แก่

มาตรฐาน IP คืออะไร

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ IP ย่อมาจาก Ingress Protection Ratings คือ มาตรฐานการป้องกันน้ำเเละฝุ่น ◼ ตัวเลขหลักเเรก ป้องกันของเเข็ง ◼ ตัวเลขหลักที่สอง ป้องกันของเหลว ◼ ตัวอย่างเครื่องมือวัด ตามมาตรฐาน IP  ◼ ประโยชน์ของการทราบมาตรฐาน IP เครื่องมือวัดที่ใช้ในอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่สถานที่ปฎิบัติงานหรือสถานที่ที่จะนำเครืองมือวัดไปใช้งาน มักจะมีฝุ่นผง ฝุ่นละอองฝุ่น หยดน้ำ หรือเครื่องมือบางชนิดจำเป็นต้องใช้ในสถานที่ที่มีความร้อนสูงหรือมีความชื้นสูง ทางผู้ผลิตเครื่องมือวัด จึงออกเเบบให้ตัวเครื่องมือวัด ให้มีความสามารถในการใช้งานในสถานที่ต่างๆได้ ซึ่งนั่นคือ มาตรฐาน IP IP ย่อมาจาก Ingress Protection Ratings คือ มาตรฐานการป้องกันน้ำเเละฝุ่น

New !!! ข้อดีของเซ็นเซอร์วัดกระเเสเเบบยืดหยุ่น รุ่น CT6280

โดยทั่วไปเเล้วการวัดกระเเสไฟฟ้า จะใช้เครื่องมือวัดหลายประเภท เช่น ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ หรือเเคล้มป์มิเตอร์   เเต่การใช้ดิจิตอลมัลติมิเตอร์วัดกระเเส จะค่อนข้างยุ่งยาก เเละไม่เหมาะสมกับการใช้วัดกระเเสไฟฟ้าสูงๆ ผู้ใช้งานส่วนใหญ่จึงมักเลือกเเคล้มป์มิเตอร์เพื่อในการวัดกระเเส เพราะเเคล้มป์มิเตอร์จะใช้งานง่ายเเละมีความปลอดภัยสูง

วิธีการวัดค่าความต้านทานดินด้วย เครื่องวัดความต้านทานดิน Earth Resistance Tester

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ Earth Resistance ความต้านทานดิน ◼ ประโยชน์ของการติดตั้งสายความต้านทานดินลงสู่พื้นดิน ( สายกราวด์ ) ◼ การติดตั้งสายความต้านทานดิน ( สายกราวน์ ) ◼ การวัดค่าความต้านทานดิน มี 2 วิธีดีงนี้ ◼ Clamp on Earth Tester FT6381 ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Earth Resistance ความต้านทานดิน การต่อความต้านทานลงดินของระบบไฟฟ้า เป็นข้อกำหนดทางวิศวกรรมไฟฟ้า มีความสำคัญคือ เพื่อป้องกันความเสียหายของระบบไฟฟ้าที่อาจจะเกิดจากฟ้าผ่า หรือไฟฟ้าลัดวงจร

การเลือกใช้ดิจิตอลมัลติมิเตอร์

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ( Digital Multimeter ) ◼ 1. ใช้กับงานไฟฟ้าเเละงานทั่วไป ( Electrical work & General use ) ◼ 2. เน้นใช้งานเกี่ยวกับการวัดอุณหภูมิ ( Air-conditioning / instrumentation ) ◼ 3. เน้นใช้งานเกี่ยวกับการวัดแผงโซล่าเซลล์ ( PV,Power equipment management ) ◼ 4. เน้นความปลอดภัยในการวัด ( Safety ) ◼ 5. เน้นฟังก์ชั่นการวัดกระเเส 4-20mA ( Measure signals ranging from 4-20mA ) ◼ 6. เน้นความเเม่นยำสูง เเละ ครอบคลุมฟังก์ชั่นการใช้งาน ( High precision models ) ◼…

ฟังก์ชั่นเเละความสำคัญของพาวเวอร์มิเตอร์ ( Power Meter )

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ Introduction ◼ การวิเคราะห์กำลังไฟฟ้า จะต้องวิเคราะห์ค่า 3 ประเภทหลักๆดังนี้ ◼ Active Power , Reactive Power , Apparent Power คืออะไร ◼ เปรียบเทียบการวิเคราะห์กำลังไฟฟ้า กับเเก้วเบียร์ 1 ใบ ◼ ฟังก์ชั่น Watt/ House ◼ Power Meter By HIOKI ◼ New!!! Lega Coporation ยินดีนำเสนอสินค้าใหม่ ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม พาวเวอร์มิเตอร์ (Power meter) เป็นอุปกรณ์สำคัญ ที่เหมาะกับการวัดและวิเคราะห์ระบบไฟฟ้าที่ใช้ในขณะนั้น ซึ่งสามารถนำผลที่วัดได้มาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงการใช้พลังงาน เพื่อควบคุมต้นทุนการใช้พลังงาน และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงานให้ได้สูงสุด

เครื่องวัดเสียงมาตรฐานเสียง Class1 & Class2

ปัจจุบันเสียงที่ดังเกินความจําเป็นจนก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของคน มาจากแหล่งต่างๆ มากมาย ส่วนสำคัญที่เป็นต้นกำเนิดเสียง ได้แก่ การคมนาคม ทั้งบนถนน บนราง และทางอากาศ  โรงงานอุตสาหกรรมที่เกิดจากเครื่องจักร  ครัวเรื่อนที่เกิดจากเครื่องมือเครื่องใช้ภายในบ้าน และเสียงจากแหล่งอื่นๆ ซึ่งเรามักเรียกว่ามลพิษทางเสียงนั้นเอง