กำลังม้า แรงม้า หรือ horsepower (hp) นั้น ริเริ่มขึ้นครั้งแรกในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษ ซึ่งใช้ม้าเป็นต้นกำลังในการขับเคลื่อนเครื่องจักร โดย “เจมส์ วัตต์””นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษผู้มีชื่อเสียง กำลังม้า (horsepower, hp) คือ กำลังของม้า 1 ตัวหรืออัตราการทำงานของม้า 1 ตัว เช่น เครื่องยนต์ 10 hp สามารถทำงานเท่ากับม้า 10 ตัว 1 กำลังม้า คือ งาน 33,000 ฟุต-ปอนด์ต่อหนึ่งนาที (ft-lb/min) จากรูปจะเห็นการเปรียบเทียบกำลังม้าเป็นกำลังไฟฟ้า ประมาณ 1 hp = 745.7 W เพราะฉะนั้น 10 hp = 745.7 x 10…
Tag: เครื่องวัดไฟ
สัญญาณ 4-20mA คืออะไร สัญญาณ 4-20mA (4-20mA analog signal) คือสัญญาณไฟฟ้าแบบอนาล็อกชนิดหนึ่งที่ถูกใช้เป็นมาตรฐานสำหรับ รับ-ส่งสัญญาณของเครื่องมือวัดในอุตสาหกรรมจำพวก Sensor ต่างๆ โดยหลักการทำงานจะมีดังนี้ หากวัดค่าที่ 0 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 4 mA หากวัดค่าที่ 25 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 8 mA หากวัดค่าที่ 50 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 12 mA หากวัดค่าที่ 75 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 16 mA และหากวัดค่าที่ 100 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 20 mA ตามตารางดังต่อไปนี้ โดยปกติแล้วอุปกรณ์ Sensor แบบ Analog ชนิดต่างๆจะมีการจ่ายสัญญาณมาตรฐานมา 2 แบบคือ สัญญาณกระแสไฟฟ้ามาตรฐาน หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งก็คือ 4-20mA…
“โซล่าเซลล์” (Solar Cell) เป็นอุปกรณ์หรือแผงที่ใช้ในการแปลงพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า โซล่าเซลล์ทำงานโดยอาศัยปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (Photovoltaic Effect) ซึ่งเป็นกระบวนการที่เมื่อแสงอาทิตย์ตกกระทบบนผิวของโซล่าเซลล์ จะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าในอุปกรณ์นี้โดยไฟฟ้าที่ได้จะเป็นไฟฟ้ากระแสตรง (DC) ซึ่งสามารถนำไปใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือชาร์จแบตเตอรี่ได้ หรือใช้เป็นแหล่งพลังงานไฟฟ้าในการประหยัดพลังงาน. โซล่าเซลล์มักถูกใช้ในการสร้างพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy) ซึ่งเป็นพลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยังช่วยลดการใช้งานพลังงานจากแหล่งพลังงานอื่นๆ ที่ใช้แล้วหมดไป เช่น น้ำมันหรือถ่านหิน การติดตั้งแผงโซล่าเซลล์บนหลังคาของบ้านหรืออาคารและใช้พลังงานแสงอาทิตย์ที่แผงโซล่าเซลล์เก็บไว้ในการสร้างไฟฟ้าเป็นต้น โซล่าเซลล์ก็เป็นส่วนสำคัญของอุปกรณ์ในระบบพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Power System) หรือที่รู้จักในนาม “ระบบโซลาร์” (Solar System) ซึ่งเป็นทางเลือกที่ยั่งยืนและพลังงานสะอาดในการผลิตไฟฟ้าให้กับบ้านหรือธุรกิจต่าง ๆ ทั่วโลก. ระบบโซลาร์ที่พบบ่อยมักมีส่วนประกอบพื้นฐานต่อไปนี้: 1. แผงโซล่าเซลล์ (Solar Panels): แผงโซล่าเซลล์คืออุปกรณ์ที่ใช้แปลงแสงอาทิตย์เป็นกระแสไฟฟ้า มักถูกติดตั้งบนหลังคาของบ้านหรืออาคาร แผงโซล่าเซลล์ประกอบด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ที่มีความสามารถในการแปลงพลังงานแสงอาทิตย์ให้กลายเป็นไฟฟ้า. แผงโซล่าเซลล์มีหลายประเภทตามวัตถุประสงค์และวัสดุที่ใช้ในการผลิต แต่ส่วนใหญ่ที่เห็นในประเทศไทยมีดังนี้ 1.1 แผงโซล่าเซลล์ชนิดโมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline Solar Cells): มีประสิทธิภาพสูง แต่ราคาสูงกว่า มักมีลักษณะเป็นสีดำและมีการตัดเป็นลูกสูบ.…
ระบบไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ระบบ ระบบไฟฟ้า 1 เฟส ระบบไฟฟ้า 1 เฟส จะให้แรงดันไฟฟ้าที่ 220-230 โวลท์ ที่ความถี่ 50 Hz โดยประกอบด้วยสายไฟ 2 สายคือ สายที่มีไฟ จะมีตัวอักษรที่เขียนกำกับอยู่เป็นตัว L (Line) และสายนิวทรอลหรือที่เรียกว่าสายศูนย์จะมีการเขียนกำกับไว้เป็นตัว N (Neutral) หากไม่มีตัวอักษรกำกับอยู่บนสายไฟฟ้า และเราต้องการทราบว่าสายเส้นไหนเป็นสาย L (Line) และสายเส้นไหนเป็นสาย N (Neutral) เราสามารถใช้ ปากกาวัดไฟ Voltage Detector ทดสอบได้ โดยหากนำปากกาวัดไฟไปแตะหากมีแสง LED และเสียงเตือน คือมีไฟฟ้าไหลผ่านคือสาย L นั่นเอง HIOKI 3481-20 เครื่องตรวจหากระแสไฟฟ้า (Voltage Detector) มีขนาดเล็ก พกพาง่าย ตรวจสอบไฟฟ้ากระเเสสลับ แบบไม่สัมผัสแรงดันไฟฟ้า ช่วงการวัด 40 V-…
แคลมป์มิเตอร์ขนาดเล็กสำหรับพกพา HIOKI CM3289 True RMS ที่มาพร้อมการออกแบบปลายเซนเซอร์ลักษณะเรียวแหลม ตอบสนองการใช้งานในพื้นที่แคบหรือพื้นที่จำกัดให้เป็นไปได้อย่างสะดวกและง่ายดาย นอกจากนั้นยังมาพร้อมฟังก์ชั่นการวัดค่าไฟฟ้าที่ครบครัน
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ รูปตัวอย่างจากเครื่องวัดมัลติมิเตอร์ Hioki DT4281 High-end Type (Direct and current clamp input terminals) ◼ Symbols Multimeter ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สัญลักษณ์ต่างๆบนเครื่องมัลติมิเตอร์ บอกถึงฟังก์ชั่นการใช้งานที่เครื่องมัลติมิเตอร์รองรับ และสามารถใช้งานฟังก์ชั่นนั้น แล้วสัญลักษณ์ที่ว่านั้นจะมีอะไรบ้าง ทางเลกะ ทูล จะมาอธิบายถึงสัญลักษณ์ และการใช้งาน จากการรวบรวมข้อมูลเครื่องมิลติมิเตอร์ที่เรามีสต๊อก ให้ผู้อ่านได้ทราบกันครับ
เครื่องวัดเเละวิเคราะห์ไฟฟ้ารุ่น PW3198 (POWER QUALITY ANALYZER 3198) เป็นเครื่องวัดเเละวิเคราะห์พลังงานไฟฟ้าแบบพกพา ที่มีความเเม่นยำสูง ซึ่งสามารถวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้าสำหรับการตรวจสอบและบันทึกความผิดปกติของแหล่งจ่ายไฟเพื่อให้สามารถตรวจสอบสาเหตุของปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
การใช้งานเเคล้มป์มิเตอร์ทั่วไป จะใช้งานเเบบคล้องบนสายไฟ 1 เส้น โดยทั่วไปผู้ใช้งานเเคล้มป์มิเตอร์จะคล้องในลักษณะไม่สนใจทิศทางการไหลของกระเเส เพราะเเคล้มป์มิเตอร์ส่วนใหญ่จะไม่มีสัญลักษณ์ลูกศรปรากฎบ้นตัวเครื่อง เเต่บางรุ่นจะมีสัญลักษณ์ลูกศรปรากฎอยู่ แล้วสัญลักษณ์ลูกศรที่ปรากฎบนเเคล้มมิเตอร์คืออะไร? สัญลักษณ์ลูกศรที่ปรากฎบนเเคล้มมิเตอร์ คือ
อุตหสากรรมในประเทศที่กำลังพัฒนา มีความต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เครื่องมือวัดค่าพลังงานที่มีความปลอดภัยสูง และมีความสะดวกในการดำเนินงาน Power Meter PW3335 จึงเป็นอีกทางเลือกนึงที่จะสามารถวัดเเละวิเคราะห์พลังงานไฟฟ้า
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ชื่อเรียกของส่วนต่างๆ บนดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดแรงดัน AC (AC Current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดแรงดัน DC (DC Current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นเช็คความต่อเนื่อง (Checking Continuity) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นการเช็คไดโอด ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นการวัดความต้านทาน (Resistance measurement) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดอุณหภูมิ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดค่าความจุไฟฟ้า (Measuring capacitance) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส DC (DC current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส DC (4-20 mA DC current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส AC โดยใช้แคลมป์ (Measuring AC current with a clamp-style sensor) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นเสริมอื่นๆ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์:…