วัดค่าต่างๆทางไฟฟ้า ( Electrical measuring instrument ) ค่าต่างๆทางไฟฟ้าจะทำให้เราทราบสภาพการทำงานของระบบไฟฟ้า จำเป็นต้องมีเครื่องวัดส่วนใหญ่มักติดตั้งที่แผงสวิตช์วัดค่าทางไฟฟ้าสำคัญ ต่างๆ เช่น กระแส ( A ),แรงดัน ( V ), กำลังทางไฟฟ้า ( W ) , ตัวประกอบกำลัง ( P.F. )เป็นต้น สำหรับเครื่องวัดที่ใช้วัดค่าต่างๆ ดังรูป Ammeter ( A ) โดยทั่วไป Ammeter จะทนกระแสได้ 5 A ถ้าต้องการวัดกระแสสูงขึ้นกว่านี้
Tag: DMM
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ชื่อเรียกของส่วนต่างๆ บนดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดแรงดัน AC (AC Current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดแรงดัน DC (DC Current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นเช็คความต่อเนื่อง (Checking Continuity) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นการเช็คไดโอด ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นการวัดความต้านทาน (Resistance measurement) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดอุณหภูมิ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดค่าความจุไฟฟ้า (Measuring capacitance) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส DC (DC current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส DC (4-20 mA DC current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส AC โดยใช้แคลมป์ (Measuring AC current with a clamp-style sensor) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นเสริมอื่นๆ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์:…
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ การใช้งานอนาล็อกมัลติมิเตอร์(Analog Multimeter) เบื้องต้น ◼ มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) ◼ การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง ◼ การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ ◼ การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง การใช้งานอนาล็อกมัลติมิเตอร์(Analog Multimeter) เบื้องต้น มัลติมิเตอร์(Multimeter) เกิดจากคำ 2 คำผสมกัน นั่นคือ Multi ซึ่งแปลว่า หลากหลาย มากมาย ส่วน Meter หมายถึง เครื่องวัด เมื่อนำสองคำมารวมกันคือ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ซึ่งสามารถวัดได้หลายค่า เช่น ค่าแรงดัน(Voltage) ค่ากระแส (Current) ค่าความต้านทาน(Resistance) บางรุ่นสามารถวัด frequency,ค่า Diod หรือค่าอื่นๆภายในเครื่องเดียวได้ด้วย
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ มัลติมิเตอร์ คืออะไร? ◼ เหตุการณ์แรงดันไฟฟ้าเกิน (overload) ที่เกิดจากแรงดันกระตุ้น (Impulse Voltage) ◼ Measurement Categories ◼ แรงดันที่เข้าไปในวงจรการวัดกระแสของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ แรงดันที่เข้าไปในวงจรการวัดความต้านทานของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการสัมผัสกันของเข็มวัด (Test lead) ◼ บทสรุป มัลติมิเตอร์ คืออะไร? บทความโดย: Hioki แปลและเรียบเรียงโดย: ชัชวาล กิมเห, Product Specialist, LEGA Corporation มัลติมิเตอร์ (Multimeter) จัดเป็นหนึ่งในเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่สำคัญและเป็นเครื่องมือวัดพื้นฐานของวิศวกร, ช่าง รวมถึงบุคคลทั่วไปที่ต้องการวัดค่าทางไฟฟ้าพื้นฐานต่างๆ เช่น กระแส, แรงดัน, ตัวต้านทาน เป็นต้น โดยมัลติมิเตอร์ แบ่งเป็นประเภทหลัก ได้ 2 ประเภท ได้แก่
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ( Digital Multimeter ) ◼ 1. ใช้กับงานไฟฟ้าเเละงานทั่วไป ( Electrical work & General use ) ◼ 2. เน้นใช้งานเกี่ยวกับการวัดอุณหภูมิ ( Air-conditioning / instrumentation ) ◼ 3. เน้นใช้งานเกี่ยวกับการวัดแผงโซล่าเซลล์ ( PV,Power equipment management ) ◼ 4. เน้นความปลอดภัยในการวัด ( Safety ) ◼ 5. เน้นฟังก์ชั่นการวัดกระเเส 4-20mA ( Measure signals ranging from 4-20mA ) ◼ 6. เน้นความเเม่นยำสูง เเละ ครอบคลุมฟังก์ชั่นการใช้งาน ( High precision models ) ◼…