บริษัท เลกะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด เราคือผู้นำด้านเครื่องมือวัดทุกชนิด

การคาลิเบรท (Calibration): คำถามที่พบ/มักจะถูกถามกันบ่อยๆ

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ แล้วอะไรคือ 5 คำถามที่พบ หรือ มักจะถูกถามกันบ่อยๆ เกี่ยวกับการคาลิเบรท? ◼ Q: เราจะเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการอ้างอิง (Reference Equipment) สำหรับการคาลิเบรทได้อย่างไร (HOW DO YOU SELECT THE REFERENCE AND CALIBRATION EQUIOMENT?) ◼ Q: เครื่องมือวัดทุกตัวนั้น จำเป็นหรือไม่ที่จะต้องนำไปคาลิเบรท?  ◼ สรุปเกี่ยวกับการคาลิเบรท การ “คาลิเบรท” คืออะไร หากพูดถึงคำว่า “คาลิเบรท” หรือ “สอบเทียบ” คำสองคำนี้มักจะใช้กันในวงการอุตสาหกรรม, การผลิต, การวัดด้วยเครื่องมือวัดต่างๆ หรือแม้แต่ในอุปกรณ์

วัดค่าต่างๆทางไฟฟ้า ( Electrical measuring instrument )

วัดค่าต่างๆทางไฟฟ้า ( Electrical measuring instrument ) ค่าต่างๆทางไฟฟ้าจะทำให้เราทราบสภาพการทำงานของระบบไฟฟ้า จำเป็นต้องมีเครื่องวัดส่วนใหญ่มักติดตั้งที่แผงสวิตช์วัดค่าทางไฟฟ้าสำคัญ ต่างๆ เช่น กระแส ( A ),แรงดัน ( V ), กำลังทางไฟฟ้า ( W ) , ตัวประกอบกำลัง ( P.F. )เป็นต้น สำหรับเครื่องวัดที่ใช้วัดค่าต่างๆ ดังรูป Ammeter ( A ) โดยทั่วไป Ammeter จะทนกระแสได้ 5 A ถ้าต้องการวัดกระแสสูงขึ้นกว่านี้

รีวิวการใช้งานเครื่อง Power Meter PW3335 และ Software PWC

อุตหสากรรมในประเทศที่กำลังพัฒนา มีความต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง  จึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เครื่องมือวัดค่าพลังงานที่มีความปลอดภัยสูง และมีความสะดวกในการดำเนินงาน Power Meter PW3335 จึงเป็นอีกทางเลือกนึงที่จะสามารถวัดเเละวิเคราะห์พลังงานไฟฟ้า

ประโยชน์ของเครื่องวัดค่าความเป็นฉนวน (Insulation Tester)

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ เครื่องวัดค่าความเป็นฉนวน (Insulation Tester) ◼ ประโยชน์ของเครื่องวัดค่าความเป็นฉนวน (Insulation Tester) มีหลากหลายดังนี้ ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆที่เราใช้ในชีวิต เช่น ตู้เย็น แอร์ ทีวี ไมโครเวฟ  ย่อมใช้กำลังงานไฟฟ้าเป็นตัวกระตุ้นให้เครื่องใช้ไฟฟ้าสามารถทำงานได้ การใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านั้นจึงมีความเสี่ยงในการโดนไฟฟ้าช็อตได้ ฉนวนไฟฟ้าจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากที่จะช่วยป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าช็อตได้อย่างดี  เครื่องวัดค่าความเป็นฉนวน  (Insulation Tester) จึงเป็นเครื่องมือที่ทางผู้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าเลือกใช้ตรวจสอบความปลอดภัย ของอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า

เครื่องวัดเเละบันทึกไฟฟ้า MEMORY HiCORDER MR8880

MEMORY HiCORDER MR8880  คือเครื่องวัดและบันทึกไฟฟ้าแบบพกพา ใช้สำหรับการทดสอบเเรงดันสูง MR8880 สามารถตรวจวัด เเละบันทึกผลไฟฟ้า แบบความเร็วสูง ( high-speed )   ทำให้สามารถวัดและบันทึกผลการเปลี่ยนเเปลงของไฟฟ้าที่รวดเร็วได้ คุณสมบัติที่สำคัญของเครื่องวัดและบันทึกไฟฟ้า รุ่น MR8880

มาทำความเข้าใจ “ดิจิตอลมัลติมิเตอร์” กันเถอะ!! PART II

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ชื่อเรียกของส่วนต่างๆ บนดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดแรงดัน AC (AC Current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดแรงดัน DC (DC Current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นเช็คความต่อเนื่อง (Checking Continuity) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นการเช็คไดโอด ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นการวัดความต้านทาน (Resistance measurement) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดอุณหภูมิ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดค่าความจุไฟฟ้า (Measuring capacitance) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส DC (DC current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส DC (4-20 mA DC current) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: การวัดกระแส AC โดยใช้แคลมป์ (Measuring AC current with a clamp-style sensor) ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์: ฟังก์ชั่นเสริมอื่นๆ ◼ การใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์:…

รีวิวเครื่องวิเคราะห์ไฟฟ้ายี่ห้อ HIOKI รุ่น PW3360

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ลักษณะเด่นของฟังก์ชั่น QUICK SET  ◼ ข้อดีของ เครื่องวิเคราะห์ไฟฟ้ายี่ห้อ HIOKI รุ่น PW3360 ◼ นอกจากจะดูข้อมูลในรูปแบบ Excel เเล้ว ยังสามารถนำผลที่ได้มาใช้กับซอฟแวร์ SF1001 ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Pw3360 ยี่ห้อ HIOKI เป็นเครื่องมือที่สามารถวัดเเละวิเคราะห์การใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน หรือการใช้ไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม วัดเพื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์หาสาเหตุเเละเเก้ไขการใช้พลังงานไฟฟ้า เพื่อลดการใช้ไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ @เครื่องวิเคราะห์ไฟฟ้ายี่ห้อ HIOKI รุ่น PW3360@ HIOKI ได้คิดค้นฟังก์ชั่นใหม่ที่ชื่อว่า QUICK SET ซึ่งเป็นตัวช่วยในการตั้งค่าเพื่อใช้งานเครื่องวัดได้อย่างถูกต้องเเละปลอดภัย

การใช้งานและอ่านค่ามัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeter)

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ การใช้งานอนาล็อกมัลติมิเตอร์(Analog Multimeter) เบื้องต้น ◼ มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) ◼ การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง ◼ การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ ◼ การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง   การใช้งานอนาล็อกมัลติมิเตอร์(Analog Multimeter) เบื้องต้น  มัลติมิเตอร์(Multimeter) เกิดจากคำ 2 คำผสมกัน นั่นคือ Multi ซึ่งแปลว่า หลากหลาย มากมาย ส่วน Meter หมายถึง เครื่องวัด เมื่อนำสองคำมารวมกันคือ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ซึ่งสามารถวัดได้หลายค่า เช่น ค่าแรงดัน(Voltage) ค่ากระแส (Current) ค่าความต้านทาน(Resistance) บางรุ่นสามารถวัด frequency,ค่า Diod หรือค่าอื่นๆภายในเครื่องเดียวได้ด้วย

มาทำความเข้าใจ “ดิจิตอลมัลติมิเตอร์” กันเถอะ!! PART I

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ มัลติมิเตอร์ คืออะไร? ◼ เหตุการณ์แรงดันไฟฟ้าเกิน (overload) ที่เกิดจากแรงดันกระตุ้น (Impulse Voltage) ◼ Measurement Categories ◼ แรงดันที่เข้าไปในวงจรการวัดกระแสของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ แรงดันที่เข้าไปในวงจรการวัดความต้านทานของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ◼ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการสัมผัสกันของเข็มวัด (Test lead) ◼ บทสรุป มัลติมิเตอร์ คืออะไร? บทความโดย: Hioki แปลและเรียบเรียงโดย: ชัชวาล กิมเห, Product Specialist, LEGA Corporation มัลติมิเตอร์ (Multimeter) จัดเป็นหนึ่งในเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่สำคัญและเป็นเครื่องมือวัดพื้นฐานของวิศวกร, ช่าง รวมถึงบุคคลทั่วไปที่ต้องการวัดค่าทางไฟฟ้าพื้นฐานต่างๆ เช่น กระแส, แรงดัน, ตัวต้านทาน เป็นต้น โดยมัลติมิเตอร์ แบ่งเป็นประเภทหลัก ได้ 2 ประเภท ได้แก่

รีวิว HIOKI – HiOptimus Demo Van

Hioki ได้เปิดตัว HiOptimus Demo Van เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2559 โดยบริษัท บริษัท เลกะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด   เป็นตัวเเทน ที่จะนำรถไปจัดเเสดงสินค้าตามเขตโรงงานต่างๆ ภายในรถ HiOptimus Demo Van ทางด้านซ้ายมือของรถ จะเป็น ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ( Digital Multimeter ) เเละ เเคล้มป์มิเตอร์ ( Clamp Meter ) ถัดมาจะเป็น พาวเวอร์มิเตอร์ ( Power Meter ) พร้อมอุปกรณ์จำลอง ทำให้สามารถเห็นถึงการใช้งานจริง ส่วนด้านบน จะมี ทีวีเพื่อเเสดงการทำงานของเครื่องรุ่นต่างๆ ดังรูป