เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ลักษณะเด่นของฟังก์ชั่น QUICK SET ◼ ข้อดีของ เครื่องวิเคราะห์ไฟฟ้ายี่ห้อ HIOKI รุ่น PW3360 ◼ นอกจากจะดูข้อมูลในรูปแบบ Excel เเล้ว ยังสามารถนำผลที่ได้มาใช้กับซอฟแวร์ SF1001 ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Pw3360 ยี่ห้อ HIOKI เป็นเครื่องมือที่สามารถวัดเเละวิเคราะห์การใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน หรือการใช้ไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม วัดเพื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์หาสาเหตุเเละเเก้ไขการใช้พลังงานไฟฟ้า เพื่อลดการใช้ไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ @เครื่องวิเคราะห์ไฟฟ้ายี่ห้อ HIOKI รุ่น PW3360@ HIOKI ได้คิดค้นฟังก์ชั่นใหม่ที่ชื่อว่า QUICK SET ซึ่งเป็นตัวช่วยในการตั้งค่าเพื่อใช้งานเครื่องวัดได้อย่างถูกต้องเเละปลอดภัย
Search Results for: hioki
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ ไขควงวัดไฟ ◼ LEGA Corporation ยินดีนำเสนอ ◼ ตัวอย่างการตรวจหาเเรงดันไฟฟ้า ◼ การเลือกใช้ Voltage Detector จะขึ้นอยู่กับ Caregory (CAT) เเละช่วงเเรงดันไฟฟ้าที่ลูกค้าต้องการตรวจเช็ค ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ไขควงวัดไฟ เป็นเครื่องตรวจเช็คเเรงดันไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไปในหมู่ช่าง เเละหลายๆคนมักจะมีติดบ้านไว้ ซึ่งไขควงวัดไฟ มีการใช้งานที่ง่ายเเละสะดวก เหมาะกับการตรวจเช็คเเรงดันไฟฟ้าเบื้องต้นว่าปลั๊กไฟบล็อคนั้นๆ มีเเรงดันไฟฟ้าหรือไม่ เเต่ไขควงวัดไฟ จะต้องวัดให้สัมผัสกับเนื้อโลหะภายในสายไฟ หรือ สัมผัสเเรงดันไฟฟ้า ซึ่งค่อนข้างจะอันตราย HIOKI จึงออกเเบบ Voltage Detector เพื่อใช้ตรวจหากระเเสไฟฟ้า
Hioki ได้เปิดตัว HiOptimus Demo Van เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2559 โดยบริษัท บริษัท เลกะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด เป็นตัวเเทน ที่จะนำรถไปจัดเเสดงสินค้าตามเขตโรงงานต่างๆ ภายในรถ HiOptimus Demo Van ทางด้านซ้ายมือของรถ จะเป็น ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ( Digital Multimeter ) เเละ เเคล้มป์มิเตอร์ ( Clamp Meter ) ถัดมาจะเป็น พาวเวอร์มิเตอร์ ( Power Meter ) พร้อมอุปกรณ์จำลอง ทำให้สามารถเห็นถึงการใช้งานจริง ส่วนด้านบน จะมี ทีวีเพื่อเเสดงการทำงานของเครื่องรุ่นต่างๆ ดังรูป
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ เครื่องวัดลำดับไฟสามเฟส ของ HIOKI ◼ PHASE DETECTOR Product by HIOKI ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ลำดับเฟสในระบบไฟฟ้ากระเเสสลับ มีความสำคัญเเละจำเป็นสำหรับการใช้งานอุปกรณ์เครื่องกลไฟฟ้ากระเเสสลับ โดยเฉพาะมอเตอร์ไฟฟ้ากระเเสสลับสามเฟส หากการเรียงลำดับเฟสไม่ถูกต้อง เช่น มอเตอร์ต้องการลำลับเฟสในทางบวก (ตามเข็มนาฬิกา clockwise) เเต่ป้อนลำดับเฟสในทางลบ
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ แคลมป์มิเตอร์ คืออะไร ? ◼ ประเภทของแคลมป์มิเตอร์ ◼ วิธีการเรียงกระแส Rectification Methods ของแคลมป์มิเตอร์ ของ HIOKI ◼ ▼ วิธีการใช้แคลมป์มิเตอร์ของ HIOKI สำหรับวัดกระแส ◼ ▼ วิธีการใช้แคลมป์มิเตอร์ของ HIOKI สำหรับวัดกระแสไฟรั่ว (Leakage Current ◼ ▼ วิธีการเลือกแคลมป์มิเตอร์ให้เหมาะกับการใช้งาน ◼ การวัดแคลมป์และการใช้แคลมป์มิเตอร์ ◼ แคลมป์มิเตอร์ของ HIOKI Feature แคลมป์มิเตอร์ แนะนำรุ่นต่างๆ ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม บทความจาก LEGA Corporation “บริษัท เลกะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด เป็นตัวแทนนำเข้าและจัดจำหน่ายสินค้ายี่ห้อ HIOKI อย่างเป็นทางการ มั่นใจได้ด้วยสินค้าคุณภาพจาก HIOKI ประเทศญี่ปุ่น ฝ่ายขายและทีมบริการหลัขายอย่างมืออาชีพ” แคลมป์มิเตอร์ คืออะไร…
กำลังม้า แรงม้า หรือ horsepower (hp) นั้น ริเริ่มขึ้นครั้งแรกในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษ ซึ่งใช้ม้าเป็นต้นกำลังในการขับเคลื่อนเครื่องจักร โดย “เจมส์ วัตต์””นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษผู้มีชื่อเสียง กำลังม้า (horsepower, hp) คือ กำลังของม้า 1 ตัวหรืออัตราการทำงานของม้า 1 ตัว เช่น เครื่องยนต์ 10 hp สามารถทำงานเท่ากับม้า 10 ตัว 1 กำลังม้า คือ งาน 33,000 ฟุต-ปอนด์ต่อหนึ่งนาที (ft-lb/min) จากรูปจะเห็นการเปรียบเทียบกำลังม้าเป็นกำลังไฟฟ้า ประมาณ 1 hp = 745.7 W เพราะฉะนั้น 10 hp = 745.7 x 10…
Memory HiCorder คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดและแสดงผลกระแสไฟฟ้าหรือสัญญาณไฟฟ้าในรูปแบบดิจิทัล โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการประมวลผลข้อมูลและแสดงผลบนหน้าจอ และสามารถนำข้อมูลไปวิเคราะห์หรือจัดเก็บได้ในรูปแบบดิจิทัลเช่นกันกับ Digital Oscilloscope แต่มีคุณลักษณะพิเศษของเครื่อง Memory Hicorder คือความสามารถในการรับสัญญาณอินพุตจำนวนมากโดยไม่ต้องใช้เครื่องขยายสัญญาณแบบแยกส่วน หรือกังวลเกี่ยวกับความแตกต่างที่อาจเกิดขึ้นระหว่างสัญญาณ เครื่อง Memory Hicorder สามารถจัดเก็บข้อมูลที่บันทึกไว้ใน SSD ในตัว, การ์ด CF หรือแฟลชไดรฟ์ USB โดยทั่วไป Input unit แต่ละ unit จะมีช่องอินพุต 2 ช่อง และอุปกรณ์สามารถรองรับอินพุตสูงถึง 1000 V DC (700 V AC) และยังสามารถเป็น unit ที่วัดความเครียดไดนามิก เทอร์โมคัปเปิล ลอจิก และอินพุตอื่นๆ โดยการสลับ Input unit ได้อีกด้วย การเชื่อมต่อเครื่องเข้ากับคอมพิวเตอร์ผ่านอินเทอร์เฟซ USB หรือ LAN ทำให้สามารถถ่ายโอนข้อมูลและควบคุมเครื่องมือจากระยะไกลได้ แอปพลิเคชัน…
Battery Electric Vehicle: BEV (รถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่) คือรถยนต์ไฟฟ้า (EV) ที่ทำงานโดยใช้พลังงานจากแบตเตอรี่เพียงอย่างเดียวและชาร์จจากแหล่งภายนอก ช่วงแรงดันไฟฟ้าที่ BEV ใช้งานนั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ การใช้แรงดันไฟฟ้าที่สูงอาจเป็นอันตรายต่อผู้ใช้งาน หากไม่มีการตรวจเช็ครถยนต์ไฟฟ้าของคุณให้ใช้งานได้อย่างปกติ เพราะฉะนั้นบทความนี้เราจะพูดถึงขั้นตอนการตรวจเช็คระบบไฟฟ้าสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย การปิดระบบ HV (High Voltage) ของรถยนต์ไฟฟ้า (EV) ก่อนดำเนินการทดสอบและวัดค่าไฟฟ้า ต้องปิดระบบ High Voltage ของรถโดยถอดปลั๊กหรือสวิตช์ออกจากระบบแบตเตอรี่ก่อนดำเนินการทดสอบหรือตรวจวัด เพื่อความปลอดภัย และอย่าลืมตรวจสอบ DTC (Digital Trouble Codes) เพื่อดูข้อผิดพลาดของเครื่องยนต์ * การถอดชิ้นส่วนไฟฟ้าแรงสูงเป็นงานที่เป็นอันตราย ผู้ที่ปฏิบัติงานต้องมีคุณสมบัติตามข้อบังคับที่กฎหมายกำหนดพร้อมการฝึกอบรมการปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ สำหรับรายละเอียดโปรดปฏิบัติตามคู่มือการใช้งานของผู้ผลิตรถยนต์แต่ละราย การวัดอุณหภูมิของแบตเตอรี่ HV เพื่อความปลอดภัยในการวัดอุณหภูมิพื้นผิวของแบตเตอรี่ HV เราควรเลือกใช้เครื่องวัดอุณหภูมิแบบไม่สัมผัส ในการตรวจสอบนี้ให้ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง เครื่องมือที่ใช้: เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรด FT3701 โดย FT3701 เป็นเครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรดที่มีเลเซอร์มาร์คเกอร์สองจุดที่วัดอุณหภูมิพื้นผิวโดยเฉลี่ยภายในวงกลมที่เกิดจากจุดสองจุด …
สัญญาณ 4-20mA คืออะไร สัญญาณ 4-20mA (4-20mA analog signal) คือสัญญาณไฟฟ้าแบบอนาล็อกชนิดหนึ่งที่ถูกใช้เป็นมาตรฐานสำหรับ รับ-ส่งสัญญาณของเครื่องมือวัดในอุตสาหกรรมจำพวก Sensor ต่างๆ โดยหลักการทำงานจะมีดังนี้ หากวัดค่าที่ 0 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 4 mA หากวัดค่าที่ 25 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 8 mA หากวัดค่าที่ 50 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 12 mA หากวัดค่าที่ 75 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 16 mA และหากวัดค่าที่ 100 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 20 mA ตามตารางดังต่อไปนี้ โดยปกติแล้วอุปกรณ์ Sensor แบบ Analog ชนิดต่างๆจะมีการจ่ายสัญญาณมาตรฐานมา 2 แบบคือ สัญญาณกระแสไฟฟ้ามาตรฐาน หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งก็คือ 4-20mA…
“โซล่าเซลล์” (Solar Cell) เป็นอุปกรณ์หรือแผงที่ใช้ในการแปลงพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า โซล่าเซลล์ทำงานโดยอาศัยปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (Photovoltaic Effect) ซึ่งเป็นกระบวนการที่เมื่อแสงอาทิตย์ตกกระทบบนผิวของโซล่าเซลล์ จะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าในอุปกรณ์นี้โดยไฟฟ้าที่ได้จะเป็นไฟฟ้ากระแสตรง (DC) ซึ่งสามารถนำไปใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือชาร์จแบตเตอรี่ได้ หรือใช้เป็นแหล่งพลังงานไฟฟ้าในการประหยัดพลังงาน. โซล่าเซลล์มักถูกใช้ในการสร้างพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy) ซึ่งเป็นพลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยังช่วยลดการใช้งานพลังงานจากแหล่งพลังงานอื่นๆ ที่ใช้แล้วหมดไป เช่น น้ำมันหรือถ่านหิน การติดตั้งแผงโซล่าเซลล์บนหลังคาของบ้านหรืออาคารและใช้พลังงานแสงอาทิตย์ที่แผงโซล่าเซลล์เก็บไว้ในการสร้างไฟฟ้าเป็นต้น โซล่าเซลล์ก็เป็นส่วนสำคัญของอุปกรณ์ในระบบพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Power System) หรือที่รู้จักในนาม “ระบบโซลาร์” (Solar System) ซึ่งเป็นทางเลือกที่ยั่งยืนและพลังงานสะอาดในการผลิตไฟฟ้าให้กับบ้านหรือธุรกิจต่าง ๆ ทั่วโลก. ระบบโซลาร์ที่พบบ่อยมักมีส่วนประกอบพื้นฐานต่อไปนี้: 1. แผงโซล่าเซลล์ (Solar Panels): แผงโซล่าเซลล์คืออุปกรณ์ที่ใช้แปลงแสงอาทิตย์เป็นกระแสไฟฟ้า มักถูกติดตั้งบนหลังคาของบ้านหรืออาคาร แผงโซล่าเซลล์ประกอบด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ที่มีความสามารถในการแปลงพลังงานแสงอาทิตย์ให้กลายเป็นไฟฟ้า. แผงโซล่าเซลล์มีหลายประเภทตามวัตถุประสงค์และวัสดุที่ใช้ในการผลิต แต่ส่วนใหญ่ที่เห็นในประเทศไทยมีดังนี้ 1.1 แผงโซล่าเซลล์ชนิดโมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline Solar Cells): มีประสิทธิภาพสูง แต่ราคาสูงกว่า มักมีลักษณะเป็นสีดำและมีการตัดเป็นลูกสูบ.…