PCB หรือแผงวงจร มีหน้าที่ในการนำไฟฟ้าหรือข้อมูลไปยังจุดต่างๆ บนตัวแผงวงจรและส่งต่อไปยังอุปกรณ์ที่มีการเชื่อมต่อไว้ โดยเราสามารถพบเห็นอุปกรณ์ที่มี PCB หรือแผงวงจรเป็นส่วนประกอบได้ทั่วไป โดยเฉพาะตามอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ลำโพง, คอมพิวเตอร์, สมาร์ทโฟน, โทรทัศน์ เป็นต้น
Tag: เครื่องวัดความหนาผิวเคลือบ
ความหนาของผิวเคลือบเป็นตัวแปรสำคัญที่มีบทบาทในด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ การควบคุมกระบวนการผลิต และการควบคุมต้นทุน การวัดความหนาของฟิล์มสามารถทำได้ด้วยเครื่องมือต่างๆ
Defelsko ผู้บุกเบิกอุตสาหกรรมการตรวจสอบการเคลือวผิว (เครื่องวัดความหนาสี, ความหนาผิวเคลือบ) และในปี 2021 นี้ Defelsko Positector มาพร้อมนวัตกรรมใหม่เพื่อตอบสนองทุกฟังก์ชั่นการใช้งาน เช่น PosiTector 6000, 200, DPM, IRT, RTR, SPG, SST, SHD, BHI และ UTG เกจทั้งหมดสามารถวัดความหนาเคลือบ วัดอุณหภูมิจุดน้ำค้าง, เกจโปรไฟล์พื้นผิว (surface profile), เครื่องทดสอบเกลือละลายน้ำ (soluble salt tester), เครื่องทดสอบความแข็ง (hardness) หรือเครื่องวัดความหนาของผนังอัลตราโซนิก (ultrasonic wall thickness gage) PosiTector Gage Bodies โพรบเดิมสามารถใช้งานร่วมกัน New PosiTector Gage Bodies ได้ รองรับการใช้งานที่หลากหลาก เช่น PosiTector 6000, 200, DPM, IRT,…
การเคลือบผิว มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อป้องกันเนื้อผิววัสดุจากมลภาวะต่างๆ เช่น ความชื้น น้ำ ฝุ่นผง ลม และสารเคมีภัณฑ์ต่างๆ นอกจากนั้นการเคลือบผิวด้วยสารเคลือบ เช่น สี แลกเกอร์ ชุบโลหะ ยังช่วยให้วัสดุแลดูเงางาม มีสีสันโดดเด่นสะดุดตา พร้อมทั้งยังสามารถตกแต่งลวดลายให้สวยงามยิ่งขึ้น และนอกจากสามารถป้องกันเนื้อวัสดุ “การเคลือบผิว” ยังช่วยให้ชิ้นงาน แข็งแรง ทนทาน รวมไปถึงอายุการใช้งานที่ยาวขึ้นอีกด้วย “การตรวจสอบมาตรฐานความหนาผิวเคลือบต้องใช้เครื่องมือวัดเฉพาะทาง คือ…” ✤ เครื่องวัดความหนาผิวเคลือบ | Coating Thickness Gauges ✤ เครื่องวัดค่าความหนาผิวเคลือบ หรือ Dry Film Thickness (DFT) ถูกนำมาใช้สำหรับการตรวจสอบค่าความหนาชั้นผิวเคลือบ เพื่อควบคุมความหนาให้ได้มาตรฐานการป้องกันเนื้อวัสดุจาก ความชื้น น้ำ แสงแดด ลม จากการสึกกร่อน และยังเป็นตัวแปรสำคัญมากต่อควบคุมกระบวนการผลิต และการจัดการกับต้นทุน ไม่ให้การเคลือบผิวหนาจนเกินไป และบางจนไม่ได้มาตรฐาน ● เลือกซื้อเครื่องวัดความหนาผิวเคลือบ คลิ๊ก!! ● การเคลือบผิว แบ่งตามประเภทของ สารเคลือบ ดังนี้ 1. สี (Paint)…
หน้าฝนแบบนี้อย่าปล่อยให้รถขาดการดูแล 1 . ทุกเช้าควรเดิน ตรวจรอบคันรถยนต์ก่อนขึ้นเสมอ สิ่งแรกที่เห็นเลย คือ ลมยางรถยนต์ สามารถมองด้วยสายตาได้เลย ลมยางที่ไม่เท่ากันจะส่งผลต่อการทรงตัวของรถ ตรวจดูที่ปัดน้ำฝนว่ายางปัดสภาพพร้อมการใช้งานไหม 2 . ก้มดูใต้ท้องรถ รอยหยด รอยรั่ว ต่างๆ หากเป็นน้ำมันเครื่อง น้ำมันเกียร์ น้ำมันเฟืองท้าย
ในการวัดความหนาผิวเคลือบนั้น มีความสำคัญกับสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ สูงมาก เพราะความหนาของผิวเคลือบนั้นส่งผลต่ออายุการใช้งานหรือแม้แต่คุณภาพของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ซึ่งในการควบคุมความหนาผิวเคลือบให้คงที่ก็จะส่งผลต่อในส่วนของต้นทุนการผลิตไปด้วย โดยส่วนใหญ่เราจะเห็นตัวผิวเคลือบกันอยู่ในหลากหลายรูปแบบ เช่น ความหนาสี, ลักษณะพื้นผิว (Surface profile) ต่าง ๆ , การเคลือบเงา เป็นต้น
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ 1. เราสามารถสอบเทียบเองได้มั้ย? ◼ 2. เป็นสิ่งที่สำคัญมากที่ต้องตรวจสอบเครื่องมือวัด ◼ 3. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการวัด ◼ 4. การวัดบริเวณขอบชิ้นงาน ◼ 5. การปรับค่าสำหรับการวัดพื้นผิวเบื้องต้น ◼ 6. การเก็บสะสมค่าความผิดพลาด (Error) ◼ 7. การตรวจสอบหัววัด (Probe) ◼ 8. ลักษณะการจับหัววัด ◼ 9. การประเมินสภาพแวดล้อมการทำงาน ◼ 10. แค่ครั้งเดียว…คงไม่เพียงพอ ◼ บทสรุป ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โดย David Beamish, DeFelsko Corporation แปลและเรียบเรียง โดย ชัชวาล กิมเห, Product Specialist, LEGA Corporation. ถ้าเราจะพูดถึงเครื่องวัดความหนาฟิล์มแห้ง แบบพกพา (Hand held dryfilm thickness) นั้น บอกได้เลยว่าเป็นนับหนึ่งในเครื่องมือวัดที่ผู้ใช้งานและผู้ตรวจสอบใช้กันโดยทั่วไป