ในมาตรฐานการวัดหน่วยต่างๆเราจะใช้คำนำหน้าหรือคำอุปสรรค (Prefix) เป็นการบอกถึงขนาดของหน่วยนั้นๆ ซึ่งตามาตรฐานการวัดแห่งชาติหรือ International System of Units (ระบบ SI) จะมีคำหน้าหน้าดังนี้ Factor Name Symbol 1,000,000,000,000,000,000,000,000 ยอตตะ yotta Y 1,000,000,000,000,000,000,000 เซตตะ zetta Z 1,000,000,000,000,000,000 เอกซะ exa E 1,000,000,000,000,000 เพตะ peta P 1,000,000,000,000 เทระ tera T 1,000,000,000 จิกะ giga G 1,000,000 เมกะ mega M 1,000 กิโล kilo k 100 เฮกโต hecto h 10 เดคา deca da…
Tag: เครื่องวัดความหนาสีเคลือบ
การวัดค่าพารามิเตอร์ทางกายภาพ เช่น ความหนาผิวเคลือบ โปรไฟล์พื้นผิว และจุดน้ำค้าง เป็นงานทั่วไป สำหรับผู้ตรวจสอบและผู้ปฏิบัติงาน อย่างไรก็ตาม ความแม่นยำของการวัดค่าเหล่านี้ จะมีค่าเท่ากับเครื่องมือที่ทำการวัด แม้แต่เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์คุณภาพสูงก็สามารถให้ผลการวัดที่ไม่ถูกต้องได้ หากไม่ปฏิบัติตามสามขั้นตอนหลัก: การสอบเทียบ (Calibration) การทวนสอบ (Verification) และการปรับค่า (Adjustment)
ความหนาของผิวเคลือบเป็นตัวแปรสำคัญที่มีบทบาทในด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ การควบคุมกระบวนการผลิต และการควบคุมต้นทุน การวัดความหนาของฟิล์มสามารถทำได้ด้วยเครื่องมือต่างๆ
Defelsko ผู้บุกเบิกอุตสาหกรรมการตรวจสอบการเคลือวผิว (เครื่องวัดความหนาสี, ความหนาผิวเคลือบ) และในปี 2021 นี้ Defelsko Positector มาพร้อมนวัตกรรมใหม่เพื่อตอบสนองทุกฟังก์ชั่นการใช้งาน เช่น PosiTector 6000, 200, DPM, IRT, RTR, SPG, SST, SHD, BHI และ UTG เกจทั้งหมดสามารถวัดความหนาเคลือบ วัดอุณหภูมิจุดน้ำค้าง, เกจโปรไฟล์พื้นผิว (surface profile), เครื่องทดสอบเกลือละลายน้ำ (soluble salt tester), เครื่องทดสอบความแข็ง (hardness) หรือเครื่องวัดความหนาของผนังอัลตราโซนิก (ultrasonic wall thickness gage) PosiTector Gage Bodies โพรบเดิมสามารถใช้งานร่วมกัน New PosiTector Gage Bodies ได้ รองรับการใช้งานที่หลากหลาก เช่น PosiTector 6000, 200, DPM, IRT,…
หน้าฝนแบบนี้อย่าปล่อยให้รถขาดการดูแล 1 . ทุกเช้าควรเดิน ตรวจรอบคันรถยนต์ก่อนขึ้นเสมอ สิ่งแรกที่เห็นเลย คือ ลมยางรถยนต์ สามารถมองด้วยสายตาได้เลย ลมยางที่ไม่เท่ากันจะส่งผลต่อการทรงตัวของรถ ตรวจดูที่ปัดน้ำฝนว่ายางปัดสภาพพร้อมการใช้งานไหม 2 . ก้มดูใต้ท้องรถ รอยหยด รอยรั่ว ต่างๆ หากเป็นน้ำมันเครื่อง น้ำมันเกียร์ น้ำมันเฟืองท้าย
ในการวัดความหนาผิวเคลือบนั้น มีความสำคัญกับสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ สูงมาก เพราะความหนาของผิวเคลือบนั้นส่งผลต่ออายุการใช้งานหรือแม้แต่คุณภาพของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ซึ่งในการควบคุมความหนาผิวเคลือบให้คงที่ก็จะส่งผลต่อในส่วนของต้นทุนการผลิตไปด้วย โดยส่วนใหญ่เราจะเห็นตัวผิวเคลือบกันอยู่ในหลากหลายรูปแบบ เช่น ความหนาสี, ลักษณะพื้นผิว (Surface profile) ต่าง ๆ , การเคลือบเงา เป็นต้น
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ 1. เราสามารถสอบเทียบเองได้มั้ย? ◼ 2. เป็นสิ่งที่สำคัญมากที่ต้องตรวจสอบเครื่องมือวัด ◼ 3. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการวัด ◼ 4. การวัดบริเวณขอบชิ้นงาน ◼ 5. การปรับค่าสำหรับการวัดพื้นผิวเบื้องต้น ◼ 6. การเก็บสะสมค่าความผิดพลาด (Error) ◼ 7. การตรวจสอบหัววัด (Probe) ◼ 8. ลักษณะการจับหัววัด ◼ 9. การประเมินสภาพแวดล้อมการทำงาน ◼ 10. แค่ครั้งเดียว…คงไม่เพียงพอ ◼ บทสรุป ◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โดย David Beamish, DeFelsko Corporation แปลและเรียบเรียง โดย ชัชวาล กิมเห, Product Specialist, LEGA Corporation. ถ้าเราจะพูดถึงเครื่องวัดความหนาฟิล์มแห้ง แบบพกพา (Hand held dryfilm thickness) นั้น บอกได้เลยว่าเป็นนับหนึ่งในเครื่องมือวัดที่ผู้ใช้งานและผู้ตรวจสอบใช้กันโดยทั่วไป