สัญญาณ 4-20mA
สัญญาณ 4-20mA
สัญญาณ 4-20mA (อังกฤษ: 4-20mA Signal) คือสัญญาณกระแสไฟที่ถูกใช้เป็นมาตรฐานสำหรับส่งสัญญาณของเครื่องมือวัดในอุตสาหกรรมซึ่งเป็นที่นิยมและแพร่หลายในปัจจุบัน โดยสัญญาณ 4-20mA ได้ถือกำเนิดขึ้นในช่วงยุคปี ค.ศ. 1950 (พ.ศ. 2493) หลังจากการประสบความสำเร็จอย่างมากของ มาตรฐานสัญญาณควบคุมนิวเมติก 3-15 psi ต่อมาเมื่ออิเล็กทรอนิกส์กลายเป็นของราคาถูกและน่าเชื่อถือเพียงพอ การเปลี่ยนผ่านได้เป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปจนมาถึงศตวรรตที่ 21 จนทำให้สัญญาณ 4-20mA เป็นที่นิยมสำหรับการส่งข้อมูลของเครื่องมือวัดในอุตสาหกรรม
หลักการทำงาน 4-20mA
การทำงานนั้นสัญญาณจะถูกส่งเป็นแบบ Linear ยกตัวอย่างเช่น เครื่องมือวัดที่มีช่วงการวัด 0-100 % ที่ 0 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 4 mA และที่ 100 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 20 mA ตามภาพตัวอย่าง
ทำไมต้อง 4-20mA
หลายคนคงสงสัยว่าทำไมต้องเป็น 4-20mA ทำไมไม่เป็น 0-20 mA สาเหตุที่ต้องเริ่มต้นจาก 4 mA ก็เพราะถ้าเราเริ่มจาก 0 mA จะทำให้เราไม่ทราบว่าตอนนี้เครื่องวัดเราเสียหายหรือว่าอยู่ในสถานะ 0% แต่ถ้าเราใช้ 4-20mA เราจะแยกแยะได้ทันทีว่าเครื่องมือวัดตัวนี้เสียหายหรืออยู่ในสถานะ 0% ถ้าวัดสัญญาณ Output ได้ 0 mA เท่ากับเสียหาย แต่ถ้าวัดสัญญาณ Output ได้ 4 mA เครื่องมือวัดยังใช้งานได้อยู่
ข้อดีของสัญญาณ 4-20mA
- ใช้กับตัวรับสัญญาณได้เพียงแค่ตัวเดียว เนื่องจากข้อจำกัดในด้านโหลดของตัวรับเมื่อใช้ตัวรับหลายๆตัวจะทำให้สัญญาณ 4-20mA ลดลงจนมีผลต่อความแม่นยำของข้อมูล
- ความยากในการใช้งานของผู้ใช้ระดับล่าง เนื่องจากสัญญาณชนิดนี้มีการต่อที่ไม่เหมือนสัญญาณแรงดันไฟซึ่งเป็นที่เคยชินของผู้ใช้ทั่วๆไป บางครั้งจึงอาจทำให้ผู้ใช้บางท่านรู้สึกว่าใช้ยากนั่นเอง
-
ลักษณะการเชื่อมต่อสัญญาณ 4-20mA
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม:
● โทร. 02-746-9933
● LINE: @lega
Related articles
- Data Logger สำหรับ 4-20 mA
สัญญาณ 4-20mA คืออะไร
สัญญาณ 4-20mA (4-20mA analog signal) คือสัญญาณไฟฟ้าแบบอนาล็อกชนิดหนึ่งที่ถูกใช้เป็นมาตรฐานสำหรับ รับ-ส่งสัญญาณของเครื่องมือวัดในอุตสาหกรรมจำพวก Sensor ต่างๆ โดยหลักการทำงานจะมีดังนี้
หากวัดค่าที่ 0 % เครื่องมือวัดจะส่งสัญญาณออกไป 4 mA
หากวัดค่าที่ 25 % […] Posted in อุปกรณ์ในการวัด, เครื่องวัดความเร็วรอบ, เครื่องวัดความสั่นสะเทือน, เครื่องวัดความแรงแม่เหล็ก, เครื่องวัดไฟ, เครื่องวัดความเร็วลม, News and Event, อุตสาหกรรมอาหาร - แนะนำการใช้งานเบื้องต้น CEDAR DI-1M-IP Series
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก!
◼ หน่วยการวัด
◼ ข้อควรระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย
◼ อธิบายส่วนต่างๆที่ตัวแสดงผล
◼ สำคัญ!
CEDAR DI-1M-IP Series เครื่องทดสอบแรงบิด
สำหรับ Air tool/ Oil pulse tool
หน่วยการวัด : N•m, kgf•cm, lbf•in
Accuracy : ±0.5%(499 or […] Posted in อุปกรณ์ในการวัด - รู้หรือไม่ Class ของเกจวัดเกลียว (Thread Gauge) มีความหมายอย่างไร
เกจวัดเกลียว Thread gauges สำหรับตรวจสอบระยะพิทช์ของเกลียว ทำให้มั่นใจได้ว่าชิ้นงานอยู่ในมาตรฐานการควบคุม โดยแบ่งเป็นมาตรฐาน JIS class และ ISO class ซึ้ง ISO class เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับ และถูกนำมาใช้งานอย่างแพร่หลายกันทั่วโลก ส่วน JIS class […] Posted in อุปกรณ์ในการวัด, News and Event - มิเตอร์วัดกระเเสไฟฟ้า AC/DC แบบปรับเทียบค่าศูนย์อัตโนมัติ BRAND HIOKI
คุณสมบัติที่สำคัญของมิเตอร์วัดกระเเส AC/DC แบบปรับเทียบค่าศูนย์อัตโนมัติ รุ่น CT7731 , CT7736 และ CT7742 จะมีคุณสมบัติปรับเทียบค่าศูนย์อัตโนมัติ โดยทาง HIOKI ได้โดยใช้เทคโนโลยีใหม่ทั้งหมดเพื่อให้มาซึ่งคุณสมบัติที่เป็นผลสำเร็จดังนี้
โดยปกติแล้ว มีเทคโนโลยีการวัดกระเเสไฟฟ้า […] Posted in เครื่องวัดไฟ - คำจำกัดความเกี่ยวกับเครื่องมือวัด
เครื่องมือวัด (Measuring Tool) คือ
เครื่องมือสำหรับใช้ในการวัดเพื่อบ่งชี้บอกระยะหรือขนาดในการกำหนดตำแหน่ง ตรวจสอบระยะหรือขนาดความกว้าง ความยาว ความสูงหรือความหนาของวัสดุชิ้นงาน ฯลฯ เครื่องมือวัดมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะ รูปร่างที่แตกต่างกันตามประโยชน์ใช้งาน
Sensors (เซนเซอร์) […] Posted in อุปกรณ์ในการวัด, News and Event - เครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้น SK Sato รุ่น PC-5000TRH-II
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก!
◼ การใช้งานเครื่องวัดอุณหภูมิความชื้นรุ่น PC-5000TRH II
◼ วิธีการใช้ การติดตั้ง
◼ แสดงอุณหภูมิภายในและความชื้น (ใช้เซ็นเซอร์ในตัว)
◼ ข้อควรระวังในการใช้งาน
◼ การแก้ไขปัญหา
เครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้นแบบดิจิตอลมัลติฟังก์ชั่น มาพร้อมกับ Internal […] Posted in อุปกรณ์ในการวัด, เครื่องวัดความชื้นอากาศ