น้ำประปาเค็มยาวนานถึงเดือนพฤษภาคม | วิกฤตภัยแล้งปี 63
เตือน 7 กลุ่มเสี่ยง หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำประปาเค็ม! จากสถานการณ์ภัยแล้งที่รุนแรงที่สุดในรอบ 50 ปี
เกิดภาวะน้ำทะเลหนุนสูงในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ส่งผลให้ระบบผลิตน้ำประปาที่ใช้บริโภคเป็นประจำนั้น มี “โซเดียม” ปะปนมากับน้ำประปา ทำให้ผู้บริโภครู้สึกว่ารสมันเปลี่ยนจากปกติ เช่น มีรสกร่อย รสเค็ม ซึ้ง WHO หรือ องค์การอนามัยโลก ได้กำหนดค่ามาตฐาน โซเดียม หรือ ความเค็มในน้ำประปาไว้ไม่ควรเกิน 200 mg/L หรือ 200 PPM และแน่นอนว่าในช่วงวิกฤตภัยแล้งปี 63 น้ำประปาจะเค็มยาวนานไปจนถึงเดือนพฤษภาคม
กลุ่มผู้ป่วยที่ควรหลีกเลี่ยงการดื่มน้ำประปาเค็มในช่วงวิกฤตนี้ ได้แก่
1. โรคไต
2.โรคความดันโลหิตสูง
3. โรคเบาหวาน
4. โรคหัวใจ
5. ผู้ป่วยโรคทางสมอง
6. เด็ก
7. คนชรา
นอกจากนั้นยังรวมไปถึง สัตว์เลี้ยงด้วยนะครับ
แนวทางการรับมือน้ำประปาเค็มสำหรับกลุ่มเสี่ยง และคนที่ต้องการดูแลสุขภาพ
1. หากต้องดื่มน้ำประปาในช่วงนี้ ควรดื่มน้ำประปาที่ผ่านเครื่องกรองน้ำแบบ Reverse Osmosis หรือ RO และควรหมั่นตรวจสอบคุณภาพใส่กรองอย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากการดักจับโซเดียมที่ปะปนมากับน้ำประปาไส้กรองอาจอุดตัน
2. ลดการปรุงรสเค็ม ถึงแม้คนที่สุขภาพดีจะบอกว่าไม่จำเป็น แต่การดื่มน้ำที่ไม่ได้ผ่านกรองแบบ RO ก็ทำให้ร่างการได้รับปริมาณโซเดียมมากขึ้นกว่าปกติ ดังนั้นการลดความเค็มจากการปรุงอาหาร ก็ถือว่าเป็นเรื่องที่ควรทำ เพื่อผลดีต่อสุขภาพ
สำหรับผู้ที่ไม่มีเครื่องกรองน้ำแบบ RO จะมีวิธีรับมือยังไง
1. ซื้อแพ็คน้ำดื่มมาบริโภค
2.เลือกกดน้ำจากตู้หยอดเหรียฐที่มีระบบกรองน้ำแบบ RO สังเกตุบนตู้กดตามภาพตัวอย่างนะครับ
3. สามารถเข้าไปรับน้ำดื่มจากจุดบริการประชาชน ตามจุดบริการต่างๆดังนี้
และสามารถเข้าไปดูคุณภาพน้ำแบบ Real time ได้ที่นี่!! โครงการระบบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ จากการประปานครหลวง
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม:
● โทร. 02-746-9933
● LINE: @LEGA
Related articles
- มาตรฐาน HACCP และ GMP คือ?
มาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารนั้นเป็นสิ่งสำคัญอย่างมาก เพราะเป็นกลไกที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารที่ถูกผลิต โดยมาตรฐานเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการผลิตและจัดจำหน่ายอาหารทั้งหมดตั้งแต่ วัตถุดิบ, กระบวนการผลิต, ควบคุมคุณภาพ, การแปรรูป, […] Posted in เครื่องวัดอุณหภูมิ, News and Event, อุตสาหกรรมอาหาร - อุณหภูมิในการเก็บรักษาอาหาร ภายในตู้เย็น
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก!
◼ สาเหตุของการทำให้อาหารนั้นเน่าเสีย
◼ การถนอนมอาหารโดยใช้ความเย็น
◼ อุณหภูมิภายในตู้เย็น
◼ อุณหภูมิในการเก็บรักษาอาหารในแต่ละประเภท
◼ ประโยชน์ของการเก็บรักษาอาหาร
อุณภูมิในการเก็บรักษาอาหาร: […] Posted in เครื่องวัดอุณหภูมิ, News and Event - ความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ | Humidity Measurement
เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก!
◼ ความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ
◼ การวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ
◼ วิธีการตรวจวัด ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง
◼ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
ความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ
ความชื้น (Humidity) คือ ปริมาณไอน้ำที่มีอยู่ในอากาศ […] Posted in เครื่องวัดความชื้นอากาศ, News and Event - ORP คืออะไร และเหตุใด ORP จึงมีความสำคัญ?
ORP (Oxidation Reduction Potential)
คือการวัดแนวโน้มของชนิดสารเคมีเพื่อรับอิเล็กตรอน (ตัวออกซิไดส์) และให้อิเล็กตรอน (ตัวรีดิวซ์) กล่าวอย่างง่ายๆคือ ORP คือชนิดของดัชนีที่แสดงถึงระดับความสามารถในการเกิดออกซิเดชันและการเกิดรีดักชัน หากความสามารถในการรีดักชัน (ต้านอนุมูลอิสระ) มีค่าสูง […] Posted in เครื่องวัดคุณภาพน้ำ Water Quality Meter, เครื่องวัดโออาร์พี - การวัดขนาดเกลียวของสกรู
การวัดขนาดเกลียวของสกรู
ส่วนประกอบที่สำคัญของเกลียวที่เราควรรู้จักคือ "Pitch” (พิทช์)
พิทช์ คือระยะห่างระหว่างเกลียว หรือระยะห่างระหว่างยอดฟันเกลียวสองยอดที่อยู่ติดกันนั่นเอง
เราสามารถวัดขนาดเกลียวของสกรูโดยใช้ 2 ระบบ
1. ระบบเมตริก (Metric) หรือ "เกลียวมิล" […] Posted in พินเกจ - รังสียูวีซี (UVC) สำหรับการฆ่าเชื้อและกำจัดไวรัส
Ultraviolet C หรือ ยูวีซี (UVC) เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญมากขึ้นนับตั้งแต่เกิดการระบาดของโรค COVID-19 โดยการนำรังสียูวีซี (UVC) มาใช้ฆ่าเชื้อ จำกัดไวรัส เช่น ฆ่าเชื้อในห้องผู้ป่วย กำจัดเชื้อที่อาจติดบนหน้ากากอนามัยในกรณีที่ต้องใช้หน้ากากซ้ำ […] Posted in เครื่องวัดแสง, News and Event
Related Product(s)