AZ PH-86500 Seires เครื่องวัดพีเอช และโออาร์พีแบบตั้งโต๊ะ | Benchtop Water Tester

SKU
AZ PH-86500 Seires
สินค้าหมด

เครื่องวัดคุณภาพน้ำ PH-86500 Series
สามารถวัดค่า : pH, ORP, Conductivity , TDS, Salinity. 
ใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยากและซับซ้อน
สามารถตั้งค่าให้เป็นระบบอัตโมมัติได้
ฟังก์ชั่น Hold data, Recording Max/Min, Auto Temp. Compensation
Manual Logger, DC jack, PC Link, Printer
ยี่ห้อ AZ

Pre-Order Item: สินค้ามีจำนวนขั้นต่ำ
ชื่อสินค้า จำนวน
AZ PH-86501 เครื่องวัดคุณภาพน้ำแบบตั้งโต๊ะ (pH/ mV/ Temp.)
สินค้าหมด
AZ PH-86551 เครื่องวัดคุณภาพน้ำแบบตั้งโต๊ะ (pH/ mV/ Temp.) | With printer
Special Price ฿9,810.00 Regular Price ฿10,900.00
AZ PH-86555 เครื่องวัดคุณภาพน้ำแบบตั้งโต๊ะ (pH/ ORP/ Cond./ TDS/ Salinity) | With printer
สินค้าหมด

AZ PH-86500 Seires เครื่องวัดพีเอช และโออาร์พีแบบตั้งโต๊ะ | Benchtop Water Tester

เครื่องวัดคุณภาพน้ำเอนกประสงค์ มีปริ้นเตอร์ในตัว มีหน่วยความจำบันทึกข็อมูลได้ 99 ข้อมูลพร้อมแสดงข็อมูลการวัด หน้าจอ LCD ขนาดใหญ่อ่านค่าง่าย มาพร้อมฟังก์ชั่น Hold data, Recording Max/ Min, ATC Auto Temp. Compenstion (ชดเชยอุณหภูมิอัตโนมัติ) ยี่ห้อ AZ

Model PH-86501 PH-86551 PH-86555
เครื่องวัดพีเอชแบบตั้งโต๊ะ เครื่องวัดพีเอชแบบตั้งโต๊ะ เครื่องวัดพีเอชแบบตั้งโต๊ะ
Printer - Yes Yes
pH Range 0.00 to 14.00 pH
Accuracy ±0.02
Resolution 0.01
ORP Range ±1999 mV
Accuracy ±0.2 mV (±199.9 mV) or ±2 mV (other)
Resolution ±0.1 mV (±199.9 mV) or ±1 mV (other)
Conductivity Range - 0 to 1999 μS/cm
Accuracy - ±1% F.S ±1 digit
Resolution - 0.05% F.S
TDS Range - 0 to 199.9 PPT
Accuracy - ±1% F.S ±1 digit
Resolution - 0.05% F.S
Salinity Range - 0 to 11.38 PPT
0 to 80.0 PPT (NaCl)
Accuracy - ±1% F.S ±1 digit
Resolution  - 0.1
TDS Factor - 0.3 to 1.00 
Temp. Coefficient N/A 0 to 10.0 %/ ºC
Range  0 to 80.0 ºC
Accuracy ±0.5 ºC
Resolution 0.1
Compatible probe pH pH, ORP, Conductivity
LCD size (mm.) 40 x 105
Operaing temp./ %RH 0 to 50 °C,  <80%RH
Dimension (mm.) 260 x 168 x 58 317 x 169 x 56.8
Weight 150g 200 g
Power 9V adaper AA x 4 pcs or 9V adaper
SKUAZ PH-86500 Seires
ขนาดN/A
ผู้ผลิตAZ
บันทึกข้อมูลไม่
ข้อต่อ connectionแบบพิเศษ (เฉพาะรุ่น)
ฟังก์์ชั่นวัด mVYes
วัดพารามิเตอร์อื่นๆได้ (โพรบแยกจำหน่าย)Yes
ฟังก์ชั่นวัดโออาร์พี (โพรบแยกจำหน่าย)Yes
Resolution pH :0.01pH mV : ±0.1mV(-1999.9 to 199.9mV) or ±1mV(Others) CD : 0.05% of Full Scale TDS : 0.05% of Full Scale Salt : 0.1 Temp : 0.1℃
Measurement RangepH : 0.00 ถึง 14pH
ORP : 1999 mV
CD : 0-19.99,0-199.9,0-1999 uS/cm ;0-19.99,0-199.9 mS/cm
TDS : 0-19.99,0-199.9,0-1999 ppm ;0-19.99,0-199.9 ppt
Temp : 0-80 ℃
Salt : 0-11.38 ppt , 0-80 ppt(Nacl)
ฟังก์ชั่นNo
Power SupplyBattery AA x 4 / Adapter
ระดับการป้องกันNo
Sensor Output InterfaceNo
AccuracypH : ±0.02pH mV : ±0.2mV(-199.9 to 199.9mV or ±2mV others ) CD : ±1% F.S ±1digit TDS : ±1% F.S ±1digit Salt : ±1% F.S ±1digit Temp : ±0.5℃
คะแนนของคุณ

ค่า pH ในดินคืออะไร มีผลกับพืชยังไง

ค่า pH ในดินคืออะไร มีผลกับพืชยังไง เชื่อว่าหลายคนยัง งงกับค่า pH ในดินว่ามันคืออะไร และไม่รู้ว่าดินที่เหมาะจะปลูกต้นไม้ให้เจริญเติบโตงอกงามดีควรจะต้องมีค่า pH ประมาณไหน และควรต้องดูแลรักษาแร่ธาตุอย่างไร ให้พืชออกดอกออกผลงอกงาม ค่า pH คืออะไร ? ความเป็นกรด-ด่างของสสาร วัดกันด้วยหน่วย pH ซึ่งโดยปกติจะมีค่าอยู่ที่ 0-14 ดังนั้นหากในดินมีค่า pH เท่ากับ 7 ก็แสดงว่ามีความเป็นกรด-ด่างเป็นกลาง

วิธีการเลือกซื้อเครื่องวัดพีเอช pH Meter

บทความ เลกะทูล – วิธีการเลือกซื้อเครื่องวัดพีเอช pH การวัดค่ากรดด่าง pH วัดได้ง่ายด้วยเครื่องวัดพีเอช ในปัจจุบันมีเครื่องวัดพีเอชให้เลือกใช้มากมายหลายรุ่นหลายยี่ห้อ มีให้เลือกทั้งแบบพกพา portable สำหรับงานภาคสนาม หรือแบบตั้งโต๊ะ desktop/ bench top type สำหรับห้องแล็ป ห้องปฎิบัติการ สถาบันการศึกษา,… มีให้เลือกมากมายแล้วจะเลือกอย่างไรดี??? ก่อนอื่น ลองตอบคำถามด้านล่างนี้ก่อน

โพรบวัดพีเอช pH Electrode

โพรบวัดพีเอช มีให้เลือกหลายประเภท ถ้าแบ่งตามลักษณะการใช้งานตามเซนเซอร์จะแบ่งได้ดังนี้ 1. Glass pH Electode โพรบวัดพีเอช แบบทั่วไป เซนเซอร์จะมีลักษณะเป็นกระเปาะแก้วกลมๆ โพรบประเภทนี้เหมาะสำหรับการวัดกรดด่างในของเหลว น้ำ ปกติกระเปาะ(เซนเซอร์) จะทำจากแก้วจึกมักเรียกโพรบวัดพีเอชประเภทนี้ว่า “Glass pH Electrode” ส่วนวัสดุ body ของโพรบจะทำจากอีพ๊อกซี่ (Expoxy) หรือแก้ว (Glass) แล้วแต่รุ่นแต่ละยี่ห้อ แต่ส่วนใหญ่มักทำจาก Epoxy เพราะมีความแข็งแรงคงทนกว่าแก้ว

วิธีการดูแลรักษาโพรบวัดพีเอชและการวัดกรดด่าง

การวัดค่ากรดด่างเพื่อให้ค่าที่อ่านได้มีความถูกต้องแม่นยำ สิ่งที่จำเป็นที่สุดคือการเลือกโพรบวัดพีเอชให้ตรงกับการใช้งานและการดูแลรักษาโพรบอย่างถูกวิธี เราขอแนะนำวิธีดูแลรักษาโพรบวัดพีเอชเบื้องต้นเพื่อการวัดค่าให้ถูกต้องแม่นยำและใช้งานได้ยาวนานขึ้น วิธีการนี้สามารถใช้ได้กับโพรบวัดพีเอชทั่วไป

ฟังก์ชันการคาลิเบรทเครื่องมือวัดค่าพีเอช&โออาร์พี

การคาลิเบรท ( Calibrate ) คือ การปรับเครื่องมือให้ตรงกับค่าอ้างอิง ทำให้มั่นใจได้ว่าเครื่องมือที่ใช้มีความเเม่นยำ เชื่อถือได้ ซึ่งเครื่องมือบางชนิด สามารถคาลิเบรทเเละปรับค่าได้ด้วยตังเอง เเต่เครื่องมือบางชนิดจะต้องนำเครื่องไปทำการคาลิเบรทที่ห้องเเลปพร้อมกับออกใบรับรองตามมาตรฐาน ISO17025 เครื่องมือวัดพีเอช (pH Meter) เเละเครื่องมือวัดโออาร์พี (ORP Meter)เป็นเครื่องมือวัดชนิดหนึ่ง

ORP คืออะไร และเหตุใด ORP จึงมีความสำคัญ?

ORP (Oxidation Reduction Potential) คือการวัดแนวโน้มของชนิดสารเคมีเพื่อรับอิเล็กตรอน (ตัวออกซิไดส์) และให้อิเล็กตรอน (ตัวรีดิวซ์) กล่าวอย่างง่ายๆคือ ORP คือชนิดของดัชนีที่แสดงถึงระดับความสามารถในการเกิดออกซิเดชันและการเกิดรีดักชัน หากความสามารถในการรีดักชัน (ต้านอนุมูลอิสระ) มีค่าสูง จะให้ค่า ORP ลดลง (เป็นลบ) แต่หากความสามารถในการออกซิเดชันมีค่าสูง

น้ำอัลคาไลน์น้ำดื่มเพื่อสุขภาพ

น้ำที่มีฤทธิ์เป็นด่าง (Alkaline Water) จะช่วยล้างพิษของความเป็นกรดและช่วยเป็นกันชนให้ร่างกายเพื่อสร้างสมดุล ระบบโลหิตของมนุษย์ต้องการฤทธิ์ด่าง ตามปกติเลือดของมนุษย์มีค่า pH 7.4 (ระหว่าง 7.35-7.45) คือมีความเป็นด่างอ่อนๆ pH ที่ต่ำกว่า 7 เป็นกรด… ph 7 คือเป็นกลาง….. pH ที่สูงกว่า 7 เป็นด่าง….. ร่างกายของมนุษย์จะเป็นกรดง่ายมาก เพราะอาหารส่วนใหญ่ที่กินเช่น แป้ง โปรตีน ไขมัน เมื่อมีการเผาผลาญอาหาร

เครื่องวัดความนำไฟฟ้าทำงานอย่างไร

น้ำบริสุทธิ์ ไม่มีความสามารถในการนำไฟฟ้า (Conductivity) แต่น้ำโดยส่วนใหญ่ที่เราพบในชีวิตประจำวันไม่ใช่น้ำบริสุทธิ์ เนื่องจากมีสารละลายต่างๆ เจือปนอยู่ สารละลายเหล่านี้เกิดจากการแตกตัวเป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า โดยจะมีทั้งประจุบวก (+) และประจุลบ (-) ซึ่งประจุเหล่านี้เองที่ทำให้น้ำสามารถนำไฟฟ้าได้ ในการวัดสภาพการนำไฟฟ้าของน้ำ โดยใช้อุปกรณ์วัดสภาพการนำไฟฟ้าแบบมาตรฐาน

การนำไฟฟ้าในน้ำ (Conductivity) คืออะไรและมีความสำคัญอย่างไร?

Conductivity หรือ การนำไฟฟ้า เป็นวิธีวัดความสามารถของน้ำในการส่งผ่านกระแสไฟฟ้าซึ่งเกิดจากมีอยู่ของสารประกอบอนินทรีย์ที่ละลายอยู่ในน้ำ เช่น แอนไอออนของคลอไรด์ไนเตรต ซัลเฟต และฟอสเฟต (แอนไอออนคือไอออนที่มีประจุลบ) หรือ แคทไอออนของโซเดียมแมกนีเซียม เหล็ก และอะลูมิเนียม

ตัวชี้วัดของจำนวนของแข็งหรือโลหะและวัสดุที่ละลายปะปนในน้ำ Total dissolved solids (TDS)

ตัวชี้วัดของจำนวนของแข็งหรือโลหะและวัสดุที่ละลายปะปนในน้ำ Total dissolved solids (TDS) ค่า Total dissolved solids (TDS) หมายถึงตัวชี้วัดของจำนวนของแข็งหรือโลหะและวัสดุที่ละลายปะปนในน้ำ

การตรวจวัดความเค็มของน้ำ (SALINITY)

การตรวจวัดความเค็มของน้ำ (SALINITY) การตรวจวัดความเค็มของน้ำ (SALINITY) การตรวจวัดความเค็ม เป็นการตรวจวัดปริมาณเกลือที่ละลายน้ำที่พบในน้ำเค็มหรือน้ำกร่อย โดยมีหน่วยเป็นส่วนในหนึ่งพันส่วน (ppt ย่อมาจาก part per thousand) ความเค็มของน้ำทะเลของโลกมีค่าเฉลี่ย 35 ppt น้ำจืดมีค่าไม่เกิน 0.5 ppt น้ำกร่อยมีค่า 0.5 – 25 ppt ค่าความเค็มจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปริมาณหยาดน้ำฟ้า น้ำจากหิมะละลาย