Defelsko Positector PRB-FNS โพรบวัดความหนาผิวเคลือบ

SKU
PRB-FNS
฿33,700.00
มีสินค้า

โพรบแบบ Separate Probe 2 in 1 รุ่น FNS
สำหรับวัด Non-Conductive Coating ทั้ง Ferrous และ Non-Ferrous
ช่วงการวัด 0 to 60 mils, 0 to 1500 µm
หัวโพรบทนต่อแรงดัน เหมาะสำหรับการใช้งานใต้น้ำ
สามารถใช้งานร่วมกับ PosiTector SmartLink ได้
ยี่ห้อ Defelsko, USA

เพิ่มสินค้าเปรียบเทียบ

Defelsko Positector PRB-FNS โพรบสำหรับเครื่องวัดความหนาผิวเคลือบ

Defelsko Positector PRB-F โพรบวัดความหนาผิวเคลือบ | Ferrous

PRB-FNS หัวโพรบทำจากสแตนเลส ทนทานต่อแรงดัน ผนึกอย่างแน่นหนาป้องกันน้ำเข้า โพรบแบบออกแบบมาให้ใช้งานง่าย โพรบสำหรับวัดความหนาผิวเคลือบแบบ Non-Magnetic และ Non-Conductive Coating ทั้งบน Ferrous และ Non-Ferrous metals ออกแบบมาสำหรับการวัดความหนาผิวเคลือบที่เคลือบอยู่บน stainless steel เหมาะสำหรับการใช้งานใต้น้ำ (เฉพาะหัวโพรบ)

  • ช่วงการวัดผิวเคลือบ 0 to 1500 µm (0 to 60 mils)

สามารถใช้งานร่วมกับ PosiTector SmartLink ได้ ตัวโพรบคงทน คุณภาพสูง ยี่ห้อ Defelsko, Made in USA

โพรบวัดความหนาผิวเคลือบรุ่นยอดนิยม แบบมีสาย
Probe Model PRB-FS PRB-NS PRB-FNS
Measurement Range 0 to 60 mils
0 to 1500 μm
Accuracy ± (0.05 mils + 1%) 0 to 2 mils
± (0.1 mils + 1%) > 2 mils
± (1 µm + 1%) 0 to 50 µm
± (2 µm + 1%) > 50 µm
หากสนใจโพรบอื่น ๆ คลิ๊ก!!!
SKUPRB-FNS
Weight60.000000
ขนาดdia. 16 mm
ผู้ผลิตDefelsko
บันทึกข้อมูลไม่
Resolution No
Measurement Range

0 to 60 mils

0 to 1500 um

ฟังก์ชั่น

Heavy-duty, gold-plated locking connector for industrial environments
Certificate of Calibration (Long Form) traceable to NIST or PTB included with every probe
Each probe retains its own unique calibration information (allowing full probe interchangeability)
Extended cables available for underwater or remote measuring. Specify length when ordering
Probes are PosiTector SmartLink compatible - wirelessly connect PosiTector 6000 probes to your smart device

Power SupplyNo Need
ระดับการป้องกันNo
Sensor Output InterfaceNo
Accuracy

± (0.05 mils + 1%) 0-2 mils/ ± (0.1 mils + 1%) > 2 mils

± (1 µm + 1%) 0-50 µm/ ± (2 µm + 1%) > 50 µm

คะแนนของคุณ

Product's Video

แนะนำและอธิบายการสั่งวิธีการ Positector 6000 แบบชุด Set

โพรบและเครื่องวัดความหนาผิวเคลือบ Positector 6000 นั้นโดยปกติส่วนใหญ่แล้ว ตัวเครื่องและโพรบลูกค้าจะนิยมสั่งแยกกัน เพื่อให้ตรงกับความต้องการและวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน หรือขึ้นอยู่ปัจจัยด้านงบประมาณของลูกค้า

หลักการทำงานของโพรบ Positector UTG M และ UTG C

หลักการทำงานของโพรบ Positector UTG M และ UTG C PosiTector UTG C probes มีตัวแปลงสัญญาณแบบ dual element พร้อมด้วยค่าชดเชย V-Path โดยอัตโนมัติ ความหนาจะถูกกำหนดโดยการวัด t1 (ไม่เคลือบผิว) หรือ t2 (เคลือบ) หารด้วยสองส่วนแล้วคูณด้วยความเร็วของเสียงสำหรับวัสดุนั้น (เหล็ก)

[Product Demo] วัดความหนาผิวเคลือบงานพ่นสีฝุ่น (Powder Coating) ด้วย Defelsko Positector PC

Defelsko Positector PC: Powder Checker For Uncured Powder Thickness. โดย ชัชวาล กิมเห, Engineer, LEGA Corporation. ทางเลกะคอร์ปอเรชั่น ได้รับ Request จากลูกค้าให้เข้าไปทำการเดโม่สินค้ายีห้อ Defelsko รุ่น Positector PC โดยงานของลูกค้า เป็นงานพ่นสี กันชนรถออฟโร๊ด

การวัดความหนาผิวเคลือบด้วย Ultrasonic

ในการวัดความหนาผิวเคลือบนั้น มีความสำคัญกับสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ สูงมาก เพราะความหนาของผิวเคลือบนั้นส่งผลต่ออายุการใช้งานหรือแม้แต่คุณภาพของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ซึ่งในการควบคุมความหนาผิวเคลือบให้คงที่ก็จะส่งผลต่อในส่วนของต้นทุนการผลิตไปด้วย โดยส่วนใหญ่เราจะเห็นตัวผิวเคลือบกันอยู่ในหลากหลายรูปแบบ เช่น ความหนาสี, ลักษณะพื้นผิว (Surface profile) ต่าง ๆ , การเคลือบเงา เป็นต้น

COATING THICKNESS GAUGE(เครื่องวัดความหนาผิวเคลือบ หรือ สีที่อยู่บนโลหะ)

COATING THICKNESS GAUGE (เครื่องวัดความหนาผิวเคลือบหรือสีที่อยู่บนโลหะ) เครื่องมือวัด ค่าความหนาของผิวเคลือบ เช่น งานชุบ, งานพ่น วัดได้ทั้งบน Ferrous(วัสดุที่เป็นเหล็ก) Non Ferrous (วัสดุที่ไม่ใช่เหล็กหรือเรียกอีกอย่างว่าอโลหะ) ใช้งานง่าย สามารถ Set Zero กับผิวชิ้นงานดิบได้ การ set zero กับผิวงานดิบคือการทำให้ตัวชิ้นงานมีค่าเท่ากับ0เพื่อที่ตัวเครื่องสามารถอ่านค่าของสีที่เคลือบอยู่บนชิ้นงานได้แม่นยำมากขึ้น

10 เรื่องสำคัญที่ควรรู้ เพื่อทำให้เรามั่นใจว่า การอ่านค่าจากเครื่อง DFT มีความแม่นยำ

เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อ..คลิ๊ก! ◼ 1. เราสามารถสอบเทียบเองได้มั้ย? ◼ 2. เป็นสิ่งที่สำคัญมากที่ต้องตรวจสอบเครื่องมือวัด ◼ 3. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการวัด ◼ 4. การวัดบริเวณขอบชิ้นงาน ◼ 5. การปรับค่าสำหรับการวัดพื้นผิวเบื้องต้น ◼ 6. การเก็บสะสมค่าความผิดพลาด (Error) ◼ 7. การตรวจสอบหัววัด (Probe) ◼ 8. ลักษณะการจับหัววัด ◼ 9. การประเมินสภาพแวดล้อมการทำงาน ◼ 10. แค่ครั้งเดียว…คงไม่เพียงพอ ◼ บทสรุป

ผู้ดูสินค้านี้มักจะดูสินค้านี้ด้วย